กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการพัฒนาคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ ภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปี ๒๕๖๔ ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจำลอง อินนุรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ ภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปี ๒๕๖๔

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3306-2-30 เลขที่ข้อตกลง 21/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ ภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปี ๒๕๖๔ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ ภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปี ๒๕๖๔



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ ภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปี ๒๕๖๔ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2564-L3306-2-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย จึงเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรที่เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน และมีสุขภาพแข็งแรง น้ำหนักทารกแรกเกิด เป็นข้อบ่งชี้ที่สำคัญของการเจริญเติบโต และการมีชีวิตรอดของทารก ทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม มีอัตราการอยู่รอดต่ำ มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการเด็กล่าช้า ระบบภูมิคุ้มกันต่ำ มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรค ของการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด เกิดในกลุ่มทารกน้ำหนักน้อย หรือถ้ารอดตายในช่วงต้นของชีวิต ก็อาจมีปัญหา ในด้านการเจริญเติบโต หรือพัฒนาการตามมา เช่น ปัญหาในด้านการเรียน การมองเห็น โรคทางเดินหายใจ โรคทางเดินอาหาร หรือการเป็นเด็กพิการ ปัญญาอ่อน เป็นต้น       นอกจากการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เกี่ยวเนื่องจนสู่การคลอดแล้ว ก็ยังมีเด็กแรกเกิด ถึง ๖ ปีบางคนที่มีปัญหาสุขภาพเกิดขึ้นหลังคลอดไปแล้ว อาจเนื่องจากครอบครัวที่มีส่วนอบรมเลี้ยงดูเด็ก หากเด็กได้รับความรัก ความอบอุ่น การอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสมถูกต้อง ส่งเสริมพัฒนาการและประสบการณ์เรียนรู้ ที่สอดคล้องกับวัยของเด็ก ได้รับอาหารถูกหลักโภชนาการ การดูแลเอาใจใส่ ความมั่นคง ปลอดภัย เด็กวัยนี้จะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง พัฒนาการสมวัยทุกด้านทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม พร้อมที่จะเติบโต เป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไป ในอนาคต “เด็กดีวันนี้ คือผู้ใหญ่ที่ดีในวันข้างหน้า” เป็นคำกล่าวที่ได้ยินมาช้านาน เพื่อเป็นการกระตุ้นเตือนการฝึกอบรม สั่งสอน สิ่งดี ๆ ต่างๆให้กับเด็ก เพื่อเมื่อเติบโตขึ้นจะเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณค่า มีคุณภาพ พัฒนาประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป แต่การที่เด็กจะดีหรือเป็นเด็กดีได้นั้นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งคือการมีสุขภาพที่ดี ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพราะเมื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ไม่ดีหรือมีโรคภัยไข้เจ็บ ก็ไม่มีพลังที่จะพัฒนาตัวเองให้เป็นเด็กดีและเด็กเก่งได้เท่ากับผู้ที่มีสุขภาพที่ดี แต่ในประเทศไทยปัจจุบันซึ่งเป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอยู่อย่างเสมอ ทำให้คนเราต้องดิ้นรนทำมาหาเลี้ยงชีพตนเองหรือครอบครัว จนไม่มีเวลาดูแลเด็กหรือบุตรตนเอง ซึ่งปัญหากับสุขภาพเด็ก รวมถึงการไม่ได้รับบริการทางสาธารณสุขตามที่เด็กควรจะได้รับ เช่น การส่งเสริมโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก ๐-๗๒ เดือน การคัดกรองภาวะโลหิตจาง การเข้ารับบริการทางทันตกรรม เป็นต้น   เครือข่าย อสม. ในเขตรับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ จึงเล็งเห็นความสำคัญ ในการส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ ภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปี ๒๕64 เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก ๐-๗๒ เดือน และเป็นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่เด็กอายุ ตั้งแต่แรกเกิด - ๗๒ เดือน อันจะส่งผลให้เด็กในวันนี้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีในวันข้างหน้า ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑. เพื่อให้อสม.และผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก ๐-๗๒ เดือน
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด – 72 เดือน ได้รับการติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการ
  3. ข้อที่ 3. เพื่อติดตามเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสงสัยพัฒนาการล่าช้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก
  2. อบรมให้ความรู้ อสม.
  3. จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

อสม.และผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – 72 เดือน ได้รับความรู้ในการดูแลและเฝ้าระวังเกี่ยวกับโภชนาการและพัฒนาการเด็ก แรกเกิด - ๗๒ เดือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก

วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ในการดูแลและเฝ้าระวังเกี่ยวกับโภชนาการ

 

80 0

2. อบรมให้ความรู้ อสม.

วันที่ 3 พฤษภาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ อสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้ อสม.

 

67 0

3. จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์

วันที่ 25 พฤษภาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับวัสดุและครุภัณฑ์ไว้ใช่

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑. เพื่อให้อสม.และผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก ๐-๗๒ เดือน
ตัวชี้วัด : อสม.และผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ความเข้าใจร้อยละ 80
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด – 72 เดือน ได้รับการติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการ
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด – 72 เดือน ได้รับการชั่งน้ำหนักและตรวจพัฒนาการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95
0.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อติดตามเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสงสัยพัฒนาการล่าช้า
ตัวชี้วัด : เด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑.  เพื่อให้อสม.และผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก ๐-๗๒ เดือน (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด – 72 เดือน ได้รับการติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการ (3) ข้อที่ 3. เพื่อติดตามเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสงสัยพัฒนาการล่าช้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็ก (2) อบรมให้ความรู้ อสม. (3) จัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ ภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปี ๒๕๖๔ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3306-2-30

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจำลอง อินนุรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด