กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังผู้บริโภคด้านสาธารณสุข รพ.สต.นากัน
รหัสโครงการ 64-L5258-1-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.นากัน
วันที่อนุมัติ 22 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 12,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจรัสศรี เจะอุมง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.624,101.057place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2564 30 ก.ย. 2564 6,000.00
2 1 เม.ย. 2564 30 ก.ย. 2564 3,900.00
รวมงบประมาณ 9,900.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (9,900.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (12,900.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการดำเนินงานที่ผ่านมาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนากัน จังหวัดสงขลา พบว่า ตลาด ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร โรงอาหารในโรงเรียน ยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสำหรับสถานที่ต่างๆ เช่น ตลาด ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร โรงอาหารในโรงเรียน เพื่อให้สถานที่ต่างๆ ได้มาตรฐานตามที่กำหนด อันจะทำให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารเพิ่มขึ้น รวมถึงการสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในภาคประชาชน เป็นต้น
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล นากัน ได้เห็นถึงความสำคัญในงานด้านอาหาร และร้านขายชำ ดังกล่าวเพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านอาหารปลอดภัยของนโยบายกระทรวงสาธารณสุข และสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน และการสร้างภาคีเครือข่ายในการพัฒนางานด้านอาหารปลอดภัย ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และรักษาคุณภาพด้านอาหาร เครื่องสำอาง เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคในพื้นที่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อรณรงค์ ส่งเสริมความรู้ ด้านอาหาร ยาและเครื่องสำอางปลอดภัยแก่ประชาชน

1.ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานยาปลอดภัยในชุมชน

0.00
2 เพื่อพัฒนาร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ตามมาตรฐานสุขาภิบาลและป้องกันโควิด-19

ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 60 12,900.00 0 0.00
26 เม.ย. 64 กิจกรรมอบรม 60 9,000.00 -
26 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 ตรวจประเมินร้านค้า 0 3,900.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.อสม.มีความรู้ และสามารถถ่ายทอดความรู้ในการเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย มีประโยชน์ต่อสุขภาพ 2.ร้านชำ และร้านอาหารแผงลอยมีการพัฒนาตามมาตรฐานสุขาภิบาล 3.ประชาชนในพื้นที่ได้รับความปลอดภัยและความมั่นใจในการบริโภคอาหาร

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 เม.ย. 2564 10:15 น.