โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564 ”
จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางแวลีเมาะ กามา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู
มิถุนายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564
ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L7008-01-005 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 เมษายน 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L7008-01-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 เมษายน 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 92,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 13 กันยายน 2561 ข้อ 6 กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้มีกองทุนหลักประกันสุขภาพที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข หน่วยงานอื่น องค์กร หรือกลุ่มประชาชน เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น และตามข้อ 10 เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติดังต่อไปนี้ (5) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสม และทันต่อสถานการณ์ได้ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับการเข้าถึงบริการสาธารณสุขของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงและสอดคล้องกับสถานการณ์การเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติต่าง ๆ ในพื้นที่
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2563 ข้อ10/1 กำหนดว่า “เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ และคณะกรรมการกองทุนไม่อาจอนุมัติค่าใช้จ่ายตามข้อ 10 ได้ทันต่อสถานการณ์ ให้ประธานกรรมการตามข้อ 12 มีอำนาจอนุมัติโครงการหรือกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุขกรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อได้ตามความจำเป็น ได้ไม่เกินหนึ่งแสนบาทต่อโครงการ โดยให้ถือว่าเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติตามประกาศนี้ด้วย แล้วรายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนทราบ” อีกทั้ง ประกอบกับปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกสาม ช่วงเดือนเมษายนจวบจนถึงปัจจุบัน มีอัตราการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและขยายในวงกว้าง ส่งผลให้ประชาชนติดเชื้อโควิด-19 จำนวนมากกว่าวันละ 100 คน ทำให้การจะรับรักษาพยาบาลคนไข้เหล่านี้ในโรงพยาบาลคงไม่สามารถดำเนินการได้อย่างทั่วถึง ตลอดจนอาการป่วยโควิดก็มีระดับความรุนแรงในระดับน้อยถึงมาก โรงพยาบาลคงต้องใช้ในการดูแลผู้ป่วยอาการหนักเท่านั้นและมีความจำเป็น นอกจากนี้สถานการณ์ของบุคคลที่ไปทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน มีแนวโน้มว่าจะต้องถูกผลักดันให้กลับประเทศ ซึ่งบุคคลเหล่านี้หลายคนอาจป่วยด้วยโควิดสายพันธุ์แอฟริกา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ ค่อนข้างดื้อวัคซีนที่กำลังจะฉีด ทางจังหวัดปัตตานีได้มีการประสานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถานกักตัวแบบพื้นที่หรือ
Local Quarantine : LQ เพื่อใช้ในการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงและเดินทางจากประเทศเพื่อนบ้านรวมถึงเพื่อรองรับผู้ที่จะถูกกักตัวที่เดินทางมาจากจังหวัดอื่นตามที่สาธารณสุขกำหนด ขึ้น
ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ดังกล่าว จึงเป็นหน้าที่ของกลุ่ม อสม.ประจำตำบลบางปู ในฐานะที่เป็นหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ที่ใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นที่มากที่สุด (ทำหน้าที่ในการสนับสนุนการป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ) เป็นกลุ่มที่ต้องดูแลผู้ที่จะเดินทางเข้ามาประเทศไทย ซึ่งต้องถูกกักตัวเองในสถานที่ที่หน่วยงานกลางกำหนด (สำหรับของอำเภอยะหริ่ง ได้กำหนดสถานที่กลางในการกักตัวผู้ที่เดินทางกลับมาจากประเทศมาเลเซีย คือ ศูนย์พัฒนาชีวิตใหม่ตำบลปิยามุมัง ตามมติที่ประชุมอำเภอยะหริ่งเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2564) จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ตำบลบางปูขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาให้ทันท่วงทีต่อไปหากเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติขึ้นจริงในพื้นที่ เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความรุนแรงของโรคและระงับยับยั้งการระบาดของโรคต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในLQ
- เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19
- ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ได้รับการกักตัว 100%
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง
วันที่ 22 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียมการโครงการ
- ประชุมชี้แจงรายละเอียดโดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ ดังนี้
1. ฝ่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู
2. ฝ่ายปกครอง
3. ฝ่ายท้องถิ่นและฝ่ายท้องที่
- จัดตั้งศูนย์ศูนย์คัดกรอง แยกกัก กักกัน คุมไว้สังเกต ตำบลบางปู (ณ ศูนย์ชีวิตใหม่ ตำบล ปิยามุมัง)
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ที่ใช้ในศูนย์ฯ
- จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัส COVID-๑๙
- ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส COVID-๑๙
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19
2. ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ได้รับการกักตัว 100%
20
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในLQ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของบุคคลที่มีความเสี่ยงได้รับการกักตัว
100.00
2
เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้านได้รับการคัดกรอง
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในLQ (2) เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L7008-01-005
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางแวลีเมาะ กามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564 ”
จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางแวลีเมาะ กามา
มิถุนายน 2564
ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L7008-01-005 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 เมษายน 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L7008-01-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 เมษายน 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 92,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 13 กันยายน 2561 ข้อ 6 กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้มีกองทุนหลักประกันสุขภาพที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข หน่วยงานอื่น องค์กร หรือกลุ่มประชาชน เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น และตามข้อ 10 เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติดังต่อไปนี้ (5) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสม และทันต่อสถานการณ์ได้ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับการเข้าถึงบริการสาธารณสุขของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงและสอดคล้องกับสถานการณ์การเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติต่าง ๆ ในพื้นที่
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2563 ข้อ10/1 กำหนดว่า “เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ และคณะกรรมการกองทุนไม่อาจอนุมัติค่าใช้จ่ายตามข้อ 10 ได้ทันต่อสถานการณ์ ให้ประธานกรรมการตามข้อ 12 มีอำนาจอนุมัติโครงการหรือกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุขกรณีเกิดการระบาดของโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อได้ตามความจำเป็น ได้ไม่เกินหนึ่งแสนบาทต่อโครงการ โดยให้ถือว่าเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติตามประกาศนี้ด้วย แล้วรายงานผลการดำเนินงานให้คณะกรรมการกองทุนทราบ” อีกทั้ง ประกอบกับปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกสาม ช่วงเดือนเมษายนจวบจนถึงปัจจุบัน มีอัตราการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและขยายในวงกว้าง ส่งผลให้ประชาชนติดเชื้อโควิด-19 จำนวนมากกว่าวันละ 100 คน ทำให้การจะรับรักษาพยาบาลคนไข้เหล่านี้ในโรงพยาบาลคงไม่สามารถดำเนินการได้อย่างทั่วถึง ตลอดจนอาการป่วยโควิดก็มีระดับความรุนแรงในระดับน้อยถึงมาก โรงพยาบาลคงต้องใช้ในการดูแลผู้ป่วยอาการหนักเท่านั้นและมีความจำเป็น นอกจากนี้สถานการณ์ของบุคคลที่ไปทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน มีแนวโน้มว่าจะต้องถูกผลักดันให้กลับประเทศ ซึ่งบุคคลเหล่านี้หลายคนอาจป่วยด้วยโควิดสายพันธุ์แอฟริกา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ ค่อนข้างดื้อวัคซีนที่กำลังจะฉีด ทางจังหวัดปัตตานีได้มีการประสานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถานกักตัวแบบพื้นที่หรือ
Local Quarantine : LQ เพื่อใช้ในการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงและเดินทางจากประเทศเพื่อนบ้านรวมถึงเพื่อรองรับผู้ที่จะถูกกักตัวที่เดินทางมาจากจังหวัดอื่นตามที่สาธารณสุขกำหนด ขึ้น
ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ดังกล่าว จึงเป็นหน้าที่ของกลุ่ม อสม.ประจำตำบลบางปู ในฐานะที่เป็นหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ที่ใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นที่มากที่สุด (ทำหน้าที่ในการสนับสนุนการป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ) เป็นกลุ่มที่ต้องดูแลผู้ที่จะเดินทางเข้ามาประเทศไทย ซึ่งต้องถูกกักตัวเองในสถานที่ที่หน่วยงานกลางกำหนด (สำหรับของอำเภอยะหริ่ง ได้กำหนดสถานที่กลางในการกักตัวผู้ที่เดินทางกลับมาจากประเทศมาเลเซีย คือ ศูนย์พัฒนาชีวิตใหม่ตำบลปิยามุมัง ตามมติที่ประชุมอำเภอยะหริ่งเมื่อวันที่ 21 เมษายน 2564) จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ตำบลบางปูขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาให้ทันท่วงทีต่อไปหากเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติขึ้นจริงในพื้นที่ เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความรุนแรงของโรคและระงับยับยั้งการระบาดของโรคต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในLQ
- เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19
- ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ได้รับการกักตัว 100%
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง |
||
วันที่ 22 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียมการโครงการ - ประชุมชี้แจงรายละเอียดโดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ ดังนี้ 1. ฝ่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางปู 2. ฝ่ายปกครอง 3. ฝ่ายท้องถิ่นและฝ่ายท้องที่ - จัดตั้งศูนย์ศูนย์คัดกรอง แยกกัก กักกัน คุมไว้สังเกต ตำบลบางปู (ณ ศูนย์ชีวิตใหม่ ตำบล ปิยามุมัง) - จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ที่ใช้ในศูนย์ฯ - จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัส COVID-๑๙ - ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส COVID-๑๙ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในLQ ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของบุคคลที่มีความเสี่ยงได้รับการกักตัว |
100.00 |
|
||
2 | เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้าน ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้านได้รับการคัดกรอง |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงในLQ (2) เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งระบบกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการจัดตั้งระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) เทศบาลตำบลบางปู ปี 2564 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L7008-01-005
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางแวลีเมาะ กามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......