กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลศรีสาคร


“ โครงการดูแลเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนหลังได้รับวัคซีน และการติดตาม ค้นหา เด็กขาดนัด ขาดวัคซีน ”

ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายประมวล ทองอินทราช

ชื่อโครงการ โครงการดูแลเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนหลังได้รับวัคซีน และการติดตาม ค้นหา เด็กขาดนัด ขาดวัคซีน

ที่อยู่ ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ ๖4 – L๘๓๖๘ – ๑ – ๒ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนหลังได้รับวัคซีน และการติดตาม ค้นหา เด็กขาดนัด ขาดวัคซีน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลศรีสาคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนหลังได้รับวัคซีน และการติดตาม ค้นหา เด็กขาดนัด ขาดวัคซีน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนหลังได้รับวัคซีน และการติดตาม ค้นหา เด็กขาดนัด ขาดวัคซีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ๖4 – L๘๓๖๘ – ๑ – ๒ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลศรีสาคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบจามจำนวนครั้งที่กำหนด ภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลง เมื่อเวลาผ่านไปต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ และประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงได้จากปัจจัยต่างๆ เช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีน เช่น ฉีดลึกหรือตื้นเกินไป เป็นต้น     ในการดำเนินงานให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๐-๑๕ ปี ในเขตเทศบาลตำบลศรีสาคร พบว่าข้อมูลย้อนหลังตั้งแต่ปี ๒๕60 เป็นต้นมา ตั้งแต่ได้รับความร่วมมือกับเทศบาลศรีสาครโดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาล อัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 แต่ผลงานก็ยังต่ำกว่าร้อยละ 95 ปัญหาที่ผ่านมา พบว่า ยังเป็นปัญหาเดิมๆ คือส่วนหนึ่งเกิดจาก ผู้ปกครองเด็กไม่พาเด็กมารับวัคซีนตามนัด เนื่องจากเหตุผลต่างๆ เช่น ไม่มาวันนัด, ติดธุระ/ภารกิจสำคัญในวันที่มีการฉีดวัคซีน หรือพาเด็กย้ายออกนอกพื้นที่อื่น กลัวลูกเป็นไข้ ไม่สบาย ฉีดแล้วบวมแดง ส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและหารายได้ การได้รับข้อมูลผิดที่ผิดๆ เช่น ฉีดวัคซีนแล้วลูกเดินไม่ได้ ฉีดแล้วอาจทำให้ลูกตาย ส่วนปัญหาด้านเจ้าหน้าที่ การบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน ขาดการติดตาม และคืนข้อมูลการรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน รวมทั้งการติดตาม กำกับการบันทึกข้อมูล การประมวลผลความครอบคลุมในระบบฐานข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถดูข้อมูลได้ เด็กในบัญชี ชื่อที่อยู่ไม่ตรงกับข้อมูลที่ให้ เขตรับผิดชอบมีหลายชุมชนเด็กไม่รู้อยู่ชุมชนไหน ออกติดตามเยี่ยมบ้านแล้วหาไม่เจอ จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก  ๐-๑๕ ปี ของโรงพยาบาลศรีสาคร พบว่า มีเด็ก ๐-๕ ปี มารับบริการฉีดวัคซีนเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา เฉลี่ย 25 คนต่อสัปดาห์ และมีเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด เฉลี่ย 10 คนต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 37.77 จากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้อัตราความครอบคลุมการรับวัคซีนในเด็กน้อยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 78.57 และพบอัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคหัดลดลงในปี 59 ร้อยละ 75.๓๔ ต่อแสนประชากร และพบการระบาดของโรคหัดในปี 2562 มีอัตราป่วย 151.84 ต่อแสนประชากร กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาลศรีสาคร ได้เห็นความสำคัญของการแก้ปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการดูแลเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนหลังได้รับวัคซีน และการติดตาม ค้นหา เด็กขาดนัด ขาดวัคซีน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็ก 0-15 ปี ได้รับการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการตามเกณฑ์ ร้อยละ 70
      1. เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบเกณฑ์ร้อยละ 75
      2. ผู้ปกครองอบรมหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ WCC ร้อยละ 60

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
    20.00 50.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการดูแลเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนหลังได้รับวัคซีน และการติดตาม ค้นหา เด็กขาดนัด ขาดวัคซีน จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ ๖4 – L๘๓๖๘ – ๑ – ๒

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประมวล ทองอินทราช )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด