กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ พลังการสืื่อสารอนามัยเจริญพันธุ์ในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บ้านไร่สาธิต หมู่ที่ 9 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ พลังการสืื่อสารอนามัยเจริญพันธุ์ในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บ้านไร่สาธิต หมู่ที่ 9 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5282-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ พลังการสืื่อสารอนามัยเจริญพันธุ์ในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บ้านไร่สาธิต หมู่ที่ 9 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ พลังการสืื่อสารอนามัยเจริญพันธุ์ในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ พลังการสืื่อสารอนามัยเจริญพันธุ์ในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บ้านไร่สาธิต หมู่ที่ 9 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5282-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การมีเพศสัมพันธ์ุและการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นไทย พบว่า วัยรุ่นเริ่มมีเพศสัมพันธุ์ครั้งแรกเร็วขึ้น อายุเฉลียเมื่อมีเพศสัมพันธุ์ครั้งแรกลดลงจากเดิมอายุเฉลี่ย 18-19 ปี ใน พ.ศ.2539 มาเป็น 15-16 ปี ใน พ.ศ.2552 (สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค) อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ในวัยรุ่น อายุ 15-24 ปี จาก 80.8 ต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ.2553 เป็น 127.08 ต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ.2558 (สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค) อัตราคลอดในหญิงอายุ 10-14 ปี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.5 ในปี พ.ศ.2543 เป็นร้อยละ 1.3 ในปี พ.ศ.2558 ข้อมูลการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15-19 ปี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 11.3 ในปี พ.ศ.2553 เป็น ร้อยละ 12.8 ในปี พ.ศ. 2557 (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข) และข้อมูลร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15 - 19 ปี ของเขต 12 พบว่ายังเกินค่าเป้าหมายที่กำหนด คือ ร้อยละ 16.75 ในปี พ.ศ. 2558 (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข)สถานการณ์การคลอดในหญิงอายุ 15 - 19 ปี ของจังหวัดสตูล สอดคล้องกับข้อมูลระดับประเทศ คือ อัตราการคลอดในหญิงอายุ 15 - 19 ปี มีแนวโน้มลดลง จาก 67.29 ในปี พ.ศ. 2555 เป็น 33.84 ในปี พ.ศ. 2559และพบว่าการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ15 - 19 ปี เพิ่มขึ้น จากร้อยละ 11.8 ในปี พ.ศ. 2554 เป็นร้อยละ 18.99 ในปี พ.ศ. 2559ซึ่งการดำเนินงานในการแก้ปัญหานั้นจำเป็นต้องใช้เวลา และต้องดำเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ซึ่งสถาบันครอบครัวเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศและการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ครอบครัวที่มีความสัมพันธ์ไปในทางที่ดี มีการสื่อสารเรื่องเพศภายในครอบครัว ก็จะส่งผลไปในทางที่ดีต่อพฤติกรรมสุขภาพทางเพศของวัยรุ่น ลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปัญหายาเสพติด และปัญหาอื่น ๆ
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ และโรงพยาบาลควนกาหลง จึงได้ร่วมกันจัดทำ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “พลังการสื่อสารอนามัยเจริญพันธุ์ในครอบครัว” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ขึ้น เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ ของวัยรุ่นและส่งผลให้วัยรุ่นในตำบลอุใดเจริญมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2560 - 2564 ว่าด้วย "การส่งเสริมบทบาทครอบครัวและชุมชนในการเลี้ยงดู สร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศกับวัยรุ่น ตามพระราชบัญญัติป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และนโยบายส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้บิดา มารดา ผู้ปกครอง ที่มีบุตรหลานวัยรุ่น มีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
  2. 2.เพื่อให้บิดา มารดา ผู้ปกครอง ที่มีบุตรหลานวัยรุ่นมีทักษะในการสื่อสารด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในครองครัวได้อย่างเข้าใจ
  3. 3.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
  4. 4.เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสื่อสารด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในครองครัวได้อย่างเข้าใจ
  5. 5.เพื่อให้นักเรียนสามารถประเมินพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศได้ และรู้จักวิธีป้องกันตนเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน 54
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    บิดา มารดา และผู้ปกครองเด็กวัยรุ่นในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญที่เข้าร่วมโครงการ มีทัศนคติที่ดีในการสื่อสารเรื่องเพศ และอนามัยการเจริญพันธุ์ กล้าที่จะเริ่มพูดคุย สอนลูกหลานในเรื่องเพศศึกษา และเด็ก ๆ กล้าพูดคุย สอบถามเรื่องเพศกับบิดา มารดา และผู้ปกครอง ส่งผลให้เด็กวัยรุ่นจะมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้และแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม

    วันที่ 18 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กนักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สามารถประเสินพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ และรู้จักวิธีป้องกันตนเอง

     

    104 111

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    เด็กนักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สามารถประเมินพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ และรู้จักวิธีป้องกันตนเอง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้บิดา มารดา ผู้ปกครอง ที่มีบุตรหลานวัยรุ่น มีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
    ตัวชี้วัด : บิดา มารดา ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ร้อยละ 60

     

    2 2.เพื่อให้บิดา มารดา ผู้ปกครอง ที่มีบุตรหลานวัยรุ่นมีทักษะในการสื่อสารด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในครองครัวได้อย่างเข้าใจ
    ตัวชี้วัด : บิดา มารดา ผู้ปกครอง มีทักษะและสามารถสื่อสารเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ได้ ร้อยละ 60

     

    3 3.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ ร้อยละ 60

     

    4 4.เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสื่อสารด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในครองครัวได้อย่างเข้าใจ
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีทักษะในการสื่อสารด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในครอบครัว ร้อยละ 60

     

    5 5.เพื่อให้นักเรียนสามารถประเมินพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศได้ และรู้จักวิธีป้องกันตนเองได้
    ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถประเมินพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศได้ และรู้จักวิธีป้องกันตนเอง ร้อยละ 60

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 104
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน 54
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้บิดา มารดา ผู้ปกครอง ที่มีบุตรหลานวัยรุ่น มีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ (2) 2.เพื่อให้บิดา มารดา ผู้ปกครอง ที่มีบุตรหลานวัยรุ่นมีทักษะในการสื่อสารด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในครองครัวได้อย่างเข้าใจ (3) 3.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ (4) 4.เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการสื่อสารด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในครองครัวได้อย่างเข้าใจ (5) 5.เพื่อให้นักเรียนสามารถประเมินพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศได้ และรู้จักวิธีป้องกันตนเองได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ พลังการสืื่อสารอนามัยเจริญพันธุ์ในครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5282-2-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด