กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”

ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจุฬา รักใหม่

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 7/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 เมษายน 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 เมษายน 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) ได้มีการแพร่ระบาดระลอกใหม่ในพื้นที่หลายจังหวัดส่งผลให้มีจำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19)เป็นจำนวนมากและมีแนวโน้มของจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะเวลาอันสั้น ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ Covid-19ณ วันที่ 26 เมษายน2564 จังหวัดพัทลุงมีผู้ป่วยยืนยันสะสม 134 ราย อำเภอควนขนุน21รายตำบลปันแต3รายจากสถานการณ์ข้างต้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโครานา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือการป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมีมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย การปฏิบัติตนเองอย่างเคร่งครัดในการป้องกันโรค การคัดกรองผู้รับบริการหรือประชาชนที่ใช้บริการในสถานที่ที่มีผู้คนจำนวนมาก รวมทั้งเน้นยำให้สถานบริการต่าง ๆ ส่วนกลุ่มที่มีความเสี่ยงมากต้องกักตัวเองไม่พบปะผู้คนรักษาระยะห่าง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลปันแตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปันแตและชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปันแตได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙)จึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙)เพียงพอ
  2. เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เฝ้าระวังและคัดกรองประชาชน
  2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์
  3. เฝ้าระวังและคัดกรอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชน หมู่ที่ 5, 6 และ 13 558
ประชาชนตำบลปันแต 6,167
อสม. หมู่ที่ 5, 6 และ 13 34

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถป้องกันการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
  2. มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดของโครงการ 1. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
ผลลัพธ์ เดือนเมษายน 2564 พบผู้ป่วย จำนวน 2 ราย เดือนพฤษภาคม 2564 ไม่มีผู้ป่วย เดือนมิถุนายน 2564 ไม่มีผู้ป่วย เดือนกรกฎาคม 2564 พบผู้ป่วย 1 ราย หมู่ที่ 6 เดือนสิงหาคม 2564 ไม่มีผู้ป่วย เดือนกันยายน 2564 พบผู้ป่วย จำนวน 12 ราย หมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 10 ตั้งแต่เดือน เมษายน 2564- กันยายน 2564 พบผู้ป่วยทั้งหมด 15 ราย ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะเป็นบุคคลในครอบครัวเดียวกัน การแพร่ระบาดของโรคไม่ขยายเป็นวงกว้าง สามารถควบคุมโรคได้ 2. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙)เพียงพอ ผลลัพธ์ ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้มอบเครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรท (ใช้ฝ่ามือ) เจล,หน้ากากอนามัย ที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปันแต ให้ทุกหมู่บ้านเพื่อใช้ในการคัดกรองผู้เข้าร่วมกิจกรรม งานต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 COVID-1๙) อย่างเพียงพอ 3. ระยะเวลาดำเนินการ ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน 2564 4. สถานที่ดำเนินการ พื้นที่หมู่ที่ 1 – 13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 5. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ  51,160 บาท
    งบประมาณเบิกจ่ายจริง  51,160 บาท  คิดเป็นร้อยละ 100
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท  คิดเป็นร้อยละ
รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 1. จัดซื้อเครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรท (ใช้ฝ่ามือ) จำนวน 13 เครื่อง ๆ ละ 1,800 บาท เป็นเงิน 23,400 บาท
2. จัดซื้อเจลล้างมือ จำนวน 592 หลอด ๆ ละ 10๐ บาท  เป็นเงิน 5,92๐ บาท 3. จัดซื้อเจลล้างมือ จำนวน 7 แกลลอน ๆ ละ 50๐ บาท  เป็นเงิน 3,50๐ บาท 4. จัดซื้อหน้ากากอนามัย จำนวน 34 กล่อง ๆ ละ 120 บาท  เป็นเงิน 4,080 บาท 5. จัดจ้างรถแห่ประชาสัมพันธ์ จำนวน 2 วัน ๆ ละ 1,50๐ บาท  เป็นเงิน 3,00๐ บาท 6. จัดจ้างทำสปอร์ตประชาสัมพันธ์  เป็นเงิน 2,00๐ บาท 7. จัดจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ไวนิล จำนวน 2 ป้าย ๆ ละ 430 บาท เป็นเงิน 86๐ บาท 8. จัดซื้ออาหารสำหรับผู้ที่กักตัว จำนวน 7 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 40 บาท จำนวน 30 คน
เป็นเงิน 8,400 บาท รวมเป็นเงิน 51,160 บาท
6. ผลที่คาดว่าได้รับ 1. สามารถป้องกันการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
2. มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) 7. ปัญหา/อุปสรรค - ไม่มี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙)เพียงพอ
ตัวชี้วัด : 1. เครื่องวัดอุณหภูมิอินฟราเรท (ใช้ฝ่ามือ) จำนวน 13 เครื่อง 2. เจลล้างมือ 3. หน้ากากอนามัย
0.00 0.00

 

2 เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 11759 11759
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,000 5,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชน หมู่ที่ 5, 6 และ 13 558 558
ประชาชนตำบลปันแต 6,167 6,167
อสม. หมู่ที่ 5, 6 และ 13 34 34

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙)เพียงพอ (2) เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เฝ้าระวังและคัดกรองประชาชน (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ (3) เฝ้าระวังและคัดกรอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจุฬา รักใหม่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด