กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเด็กน้อยคนเก่งมารับบริการวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปี ๒๕๖๐ ”
ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรไซดะห์สามะอาลี




ชื่อโครงการ โครงการเด็กน้อยคนเก่งมารับบริการวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปี ๒๕๖๐

ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2475-02-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กน้อยคนเก่งมารับบริการวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปี ๒๕๖๐ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กน้อยคนเก่งมารับบริการวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปี ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กน้อยคนเก่งมารับบริการวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2475-02-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายมีสองวิธีที่สำคัญ วิธีแรกคือการให้ภูมิคุ้มกันชนิดสำเร็จรูปหรือที่เรียกกันเป็นภาษาหมอว่า “อิมมูโกลบุลิน” ซึ่งเมื่อให้เข้าสู่ร่างกาย ภูมิคุ้มกันนี้จะสามารถออกฤทธิ์ต่อต้านเชื้อโรคได้ทันที ส่วนวิธีที่สองคือ การให้วัคซีนเพื่อกระตุ้นร่างกายให้สร้างภูมิคุ้มกันหรือแอนติบอดี ซึ่งวิธีนี้อาจใช้เวลานับสัปดาห์หรือเดือน กว่าจะมีภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันโรคได้ วัคซีนจะทำหน้าที่กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นเครื่องป้องกันของร่างกาย และทำหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรค ไม่ว่าจะเป็นเชื้อไวรัสหรือเชื้อแบคทีเรียเป็นหนึ่งในวิธีการสร้างเสริมสุขภาพให้แข็งแรง ที่มีความคุ้มค่ากว่าเมื่อต้องทำการรักษาหลังจากติดเชื้อหรือเป็นโรคแล้ว ปัจจุบันโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน เช่น โรคคอตีบ ไอกรน ได้กลับมาระบาดซ้ำและมีแนวโน้มที่จะรุนแรงและระบาดรวดเร็วกว่าในอดีต ทั้งนี้ถ้าหากเด็กไม่มีภูมิคุ้มกันโรคความรุนแรงเพิ่มขึ้นอาจจะเสียชีวิตได้ จังหวัดนราธิวาส ได้กำหนดความครอบคลุมการได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ๐-๕ ปีร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป จาการดำเนินงานที่ผ่านมา รพ.สต.บ้านไอร์ซือเร๊ะมีความครอบคลุมเพียงร้อยละ ๘๐.๒๕ ดังนั้นเพื่อให้การได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคมีความครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอร์ซือเร๊ะร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลช้างเผือกจึงจัดทำโครงโครงการเด็กน้อยคนเก่งมารับบริการวัคซีนครบตามเกณฑ์ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะจังหวัดนราธิวาส ประจำปี๒๕๖๐ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อรณรงค์การให้วัคซีนแก่เด็กอายุ ๐ – ๕ ปีในพื้นที่ ๒ เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และตระหนักในการฉีดวัคซีน ๓ เพื่อค้นหาเด็กที่ไม่มาฉีดวัคซีนตามนัดและกลุ่มที่ไม่เคยมารับบริการ ๔ เพื่อยับยั้งการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สามารถค้นหาเด็กที่ไม่มาฉีดวัคซีนตามนัดและกลุ่มที่ไม่เคยมารับบริการผู้ปกครองเด็กได้รับความรู้ และเกิดความตระหนักในการฉีดวัคซีนเพื่อให้เด็ก ๐-๕ ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ทำให้สามารถลดอัตราการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรม

วันที่ 1 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

32 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อรณรงค์การให้วัคซีนแก่เด็กอายุ ๐ – ๕ ปีในพื้นที่ ๒ เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และตระหนักในการฉีดวัคซีน ๓ เพื่อค้นหาเด็กที่ไม่มาฉีดวัคซีนตามนัดและกลุ่มที่ไม่เคยมารับบริการ ๔ เพื่อยับยั้งการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : ๑ เด็ก ๐-๕ ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ครอบคลุมร้อยละ ๙๐ ๒ ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และตระหนักในการฉีดวัคซีนครอบคลุมร้อยละ ๙๐

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 32
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อรณรงค์การให้วัคซีนแก่เด็กอายุ ๐ – ๕ ปีในพื้นที่
๒ เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และตระหนักในการฉีดวัคซีน
๓ เพื่อค้นหาเด็กที่ไม่มาฉีดวัคซีนตามนัดและกลุ่มที่ไม่เคยมารับบริการ ๔ เพื่อยับยั้งการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กน้อยคนเก่งมารับบริการวัคซีนครบตามเกณฑ์ ปี ๒๕๖๐ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2475-02-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรไซดะห์สามะอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด