กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า


“ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ระลอกใหม่ ”

ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางทิพวัลย์ ไชยดิษฐ์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ระลอกใหม่

ที่อยู่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5182-02-19 เลขที่ข้อตกลง 15/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ระลอกใหม่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ระลอกใหม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ระลอกใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5182-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,750.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 645 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไป เป็นระยะอย่างต่อเนื่องจนถึงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ซึ่งจํานวนผู้ติดเชื้อสะสมและผู้ติดเชื้อรายใหม่ซึ่งเป็นการติดเชื้อในประเทศได้เพิ่มจํานวนขึ้น อย่างต่อเนื่อง และการระบาดระลอกใหม่นี้ได้กระจายออกไปในหลายพื้นที่ค่อนข้างรวดเร็ว สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกที่ 3 ในจังหวัดสงขลาในเดือนเมษายน 2564 มียอดผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอีกวันที่ (26 เม.ย. 64) จำนวน 38 ราย ยอดสะสมเป็น 492 ราย ซึ่งติดเชื้อในประเทศ 488 ราย และติดเชื้อจากต่างประเทศ 4 ราย ขณะนี้รักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาล 457 ราย และหายกลับบ้านแล้ว 34 รายและคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลาได้ออกคำสั่งเพื่อออกมาตรการต่างในการเพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไปแล้วนั้น ซึ่งการเผชิญการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลสุขภาพให้แข็งแรง และการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เช่น หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด ล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง สวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี เป็นต้น ชมรม อสม.หมู่ที่ 9 ได้ตระหนักและห่วงใยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ตำบลนาหว้าที่ต้องเผชิญกับภาวะการระบาดอย่างหนักของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงต้องมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19
  2. เพิ่มร้อยละของการคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากต่างพื้นที่และต่างจังหวัด
  3. เพิ่มร้อยละของความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องมือสำหรับ อสม.ในการคัดกรองและปฏิบัติงานเชิงรุกในการป้องกันโควิด - 19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. มีนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
  2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันโควิด - 19 และสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน
  3. รณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรค
  4. การคัดกรองและเฝ้าระวังบุคคลที่เดินทางมาจากพื้นที่อื่นหรือต่างจังหวัดหรือกรณีมีการจัดงานหรือกิจกรรมที่มีการรวมตัวกัน
  5. การแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine Self Quarantine)
  6. นโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการป้องกันโควิด-19
  7. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันโควิด - 19 และสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน
  8. รณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรค
  9. การคัดกรองและเฝ้าระวังบุคคลที่เดินทางมาจากพื้นที่อื่นหรือต่างจังหวัดหรือกรณีมีการจัดงานหรือกิจกรรมที่มีการรวมตัวกัน
  10. การแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine Self Quarantine)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน 415
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 5
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 15
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 เพิ่มขึ้น
85.00 90.00

 

2 เพิ่มร้อยละของการคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากต่างพื้นที่และต่างจังหวัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากต่างพื้นที่และต่างจังหวัดเพิ่มขึ้น
85.00 98.00

 

3 เพิ่มร้อยละของความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องมือสำหรับ อสม.ในการคัดกรองและปฏิบัติงานเชิงรุกในการป้องกันโควิด - 19
ตัวชี้วัด : ร้อยละของความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องมือสำหรับ อสม.ในการคัดกรองและปฏิบัติงานเชิงรุกในการป้องกันโควิด - 19 เพิ่มขึ้น
75.00 95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 645
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน 415
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 5
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 15
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 (2) เพิ่มร้อยละของการคัดกรองบุคคลที่เดินทางจากต่างพื้นที่และต่างจังหวัด (3) เพิ่มร้อยละของความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องมือสำหรับ อสม.ในการคัดกรองและปฏิบัติงานเชิงรุกในการป้องกันโควิด - 19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มีนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (2) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันโควิด - 19 และสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน (3) รณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรค (4) การคัดกรองและเฝ้าระวังบุคคลที่เดินทางมาจากพื้นที่อื่นหรือต่างจังหวัดหรือกรณีมีการจัดงานหรือกิจกรรมที่มีการรวมตัวกัน (5) การแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine Self Quarantine) (6) นโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการป้องกันโควิด-19 (7) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันโควิด - 19 และสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน (8) รณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรค (9) การคัดกรองและเฝ้าระวังบุคคลที่เดินทางมาจากพื้นที่อื่นหรือต่างจังหวัดหรือกรณีมีการจัดงานหรือกิจกรรมที่มีการรวมตัวกัน (10) การแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine Self Quarantine)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ระลอกใหม่ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5182-02-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทิพวัลย์ ไชยดิษฐ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด