กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง


“ พ่อแม่รักหนู พร้อมใจฉีดวัคซีน ”

ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางมารีแย หะยีเจะแว

ชื่อโครงการ พ่อแม่รักหนู พร้อมใจฉีดวัคซีน

ที่อยู่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3016-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 เมษายน 2560 ถึง 27 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"พ่อแม่รักหนู พร้อมใจฉีดวัคซีน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พ่อแม่รักหนู พร้อมใจฉีดวัคซีน



บทคัดย่อ

โครงการ " พ่อแม่รักหนู พร้อมใจฉีดวัคซีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3016-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 เมษายน 2560 - 27 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

‹‹ โรคคอตีบ เป็นโรคติดต่อที่มีการระบาดอย่างรวดเร็ว สามารถคร่าชีวิตเด็กๆในอัตราที่สูงมาก อาการของโรคคอตีบ ไข้เจ็บคอ แผ่นฝ้าขาว คอบวม อาการทั่วไปคล้ายโรคไข้หวัด ถ้าหากผู้ป่วยไม่เคยฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ อาการของโรคจะรุนแรงถึงเสียชีวิตโดยฉับพลันภายใน ๓ วัน การฉีดวัคซีนสร้างภูมิคุ้นกันโรคคอตีบ จะช่วยป้องกันการเกิดภาวะเป็นแผ่นฝ้าขาว คอบวม ปิดกั้นทางเดินหายใจ ที่จะนำสู่การเสียชีวิตโดยฉับพลันเนื่องจากขาดลมหายใจของเด็กๆได้สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบในจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ ถึงปัจจุบัน มีผู้ป่วย ๗๔ ราย เสียชีวิต ๑๘ รายส่วนอำเภอเมืองปัตตานี มีผู้ป่วย ๗ ราย เสียชีวิต ๑ ราย ผู้ป่วยที่เสียชีวิตทั้งหมดไม่มีประวัติรับวัคซีนป้องกันโรคคอตีบเลย การระบาดมีต่อเนื่องเรื่อยมาหลักการสร้างภูมิคุ้มกันโรค (Immunization)หมายถึง การทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันหรือความต้านทานเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคหรือทำให้ความรุนแรงน้อยลง ซึ่งวัคซีนนี้ได้มาจากเชื้อโรคที่ตายแล้วหรือยังมีชีวิตอยู่ แต่ทำให้ฤทธิ์อ่อนลง ซึ่งทำหน้าที่เป็นเข้าไปกระตุ้นร่างกายให้สร้างภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งจะอยู่ได้นานเป็นปีๆ หรืออาจอยู่ได้ตลอดไปการสร้างภูมิคุ้มกันเป็นหน้าที่ของเม็ดเลือดขาวจะสร้าง antibody ซึ่งอยู่ในกระแสเลือด มีคุณสมบัติในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคครั้งต่อไป และจะกระตุ้นให้เกิดการเพิ่มจำนวนของเม็ดเลือดขาวที่จะมีคุณสมบัติในการทำลายเชื้อที่ทำให้เกิดโรคโดยตรง จึงทำให้ผู้ป่วยหายจากโรคการให้วัคซีนส่วนใหญ่ต้องให้หลายครั้ง เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้สูงขึ้นและอยู่ได้นานพอที่จะป้องกันได้ในระยะยาวมีความทรงจำ (memory)ตามระบบของการให้วัคซีนในประเทศไทยเด็กอายุ ๐-๕ ปี จำเป็นต้องได้รับวัคซีนและวัคซีนกระตุ้น จำนวน ๙ ครั้งจึงจะครบสมบูรณ์ ได้แก่ วัคซีนป้องกันโรควัณโรค โรคตับอักเสบบี โรคโปลิโอ โรคคอตีบ โรคไอกรน โรคบาดทะยัก โรคหัด โรคหัดเยอรมัน โรคไข้สมองอักเสบ เป็นต้น หลังการฉีดวัคซีนเด็กจะมีอาการเป็นไข้ ตัวร้อน ถ้าไม่มีความเข้าใจในการดูแลอย่างถูกต้อง เด็กจะมีอาการป่วยอย่างอื่นเข้ามาแทรก เช่น ไข้สูงจนชัก ปอดบวมด้วยเหตุนี้พ่อแม่บางส่วนไม่ยินยอมฉีดวัคซีนแก่ลูก ทำให้การปฏิบัติงานของ รพ.สต.ปะกาฮะรัง ไม่สามารถบรรลุตัวชี้วัดร้อยละ ๙๐ ได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง จึงเล็งเห็นความสำคัญของการให้ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวัคซีนจึงได้จัดทำโครงการพ่อแม่รักหนู พร้อมใจฉีดวัคซีน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่พ่อแม่และรณรงค์ฉีดวัคซีนเด็กอายุ ๐-๕ ปีที่ผู้ปกครองไม่ยอมให้ฉีดวัคซีน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนและผลกระทบ .๒รณรงค์ฉีดวัคซีนเด็กอายุ ๐-๕ ปีที่ผู้ปกครองไม่ยอมให้ฉีดวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. สอบถามและพูดคุย ความเข้าใจและทัศนคติ ของกลุ่มเป้าหมายหลังการอบรม ๒. สังเกตปฏิกิริยาและการตอบสนอง
    ๓. ประเมินการให้ความร่วมมือของกลุ่มเป้าหมายแบ่งประเภทโดยการแยกสี ดังนี้ สีเขียวหมายถึงผู้ที่ให้ความร่วมมือ อยู่ในเกณฑ์ดีและดีเยี่ยม สีเหลือง หมายถึงผู้ที่ให้ความร่วมมือ เมื่อถูกกระตุ้น เมื่อไม่กระตุ้นจะไม่ร่วมมือ สีแดง หมายถึง ผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือ และต่อต้าน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ 

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนและผลกระทบ .๒รณรงค์ฉีดวัคซีนเด็กอายุ ๐-๕ ปีที่ผู้ปกครองไม่ยอมให้ฉีดวัคซีน
    ตัวชี้วัด : ๑ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันโรค ๒ร้อยละ ๔๐ ของผู้ปกครองเห็นความสำคัญและยินยอมให้ฉีดวัคซีนแก่ลูก
    100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนและผลกระทบ
    .๒รณรงค์ฉีดวัคซีนเด็กอายุ ๐-๕ ปีที่ผู้ปกครองไม่ยอมให้ฉีดวัคซีน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    พ่อแม่รักหนู พร้อมใจฉีดวัคซีน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3016-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมารีแย หะยีเจะแว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด