กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการของกลุ่มผู้ป่วย หรือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง (LQ) องค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ ประจำปี 2564

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการของกลุ่มผู้ป่วย หรือผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง (LQ) องค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 64-L5202(5)-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ
วันที่อนุมัติ 5 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 242,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ว่าที่ร้อยตรีหญิงฐิติมา ศรีสุข
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวธนัชชา โชติพนัง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.483,100.643place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2564 30 ก.ย. 2564 242,000.00
รวมงบประมาณ 242,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนคนที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงและประเทศเพื่อนบ้าน
40.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด - 19 ระลอกใหม่ช่วงเดือนเมาายน จนถึงปัจจุบันมีจำนวนอัตรการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและในวงกว้าง ส่งผลให้ประชาชนติดเชื้อโควิด - 19 จำนวนมากว่าวันละ 2,000 คน ทำให้การรับการรักษาพยาบาลของคนไข้เหล่านี้ในโรงพยาบาลคงไม่สามารถทำได้ ตลอดจนอาการป่วยโควิดก็มีระดับความรุนแรงน้อยและมาก โรงพยาบาลต้องใช้ในการดูแลผู้ป่วยอาการหนักเท่านั้นและมีความจำเป็น นอกจากนี้สถานการณ์ของบุคคลที่ไปทำงานในประเทศเพื่อนบ้านมีแนวโน้มว่าจะต้องถูกผลักดันให้กลับประเทศ ซึ่งบุคคลเหล่านี้อาจป่วยด้วยโรคโควิดสายพันธ์ุแอฟริกา ซึ่งเป็นสวายพันธุ์ที่ค่อนข้างดื้อวัคซีนที่กำลังจะฉีด ทางจังหวัดได้มีการประสานให้องคืกรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นสถานกักตัวแบบพื้นที่ หรือ Local Quarantine : LQ เพื่อใช้ในการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงและเดินทางมาจากประเทสเพื่อนบ้านขึ้น และตามความเห็นของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา คำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ที่ 10/2564 ลงวันที่ 30 มีนาคม 2564 เรื่อง การจัดตั้งศูนย์ที่กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วย ( Local Quanrantine) จังหวัดสงขลา เพื่อให้การกักกันตัวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามหลักสาธารณสุขและเป้นการบูรณาการสถานที่กักกันให้เป็นภาพรวมของจังหวัดและองคืกรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อมและป้องกันให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวในจังหวัดสงขลา จึงจำเป็นต้องจัดตั้งสถานกักกัน สถานที่คุมไว้เพื่อสังเกตอาการ เพื่อรองรับกลุ่มบุคคลดังกล่าว ในระดับพื้นที่ภายในจังหวัดสงขลา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงใน LQ

ร้อยละของบุคคลที่มีความเสี่ยงได้รับการกักตัว

40.00
2 เพื่อคัดกรองบุคคลที่เดินทางมาจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้าน

ร้อยละของบุคคลที่เดินทางจากนอกพื้นที่และประเทศเพื่อนบ้าน

40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 40 242,000.00 0 0.00 242,000.00
1 เม.ย. 64 - 30 มิ.ย. 64 จัดตั้งระบบกักันบุคคลที่มีความเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงและประเทสเพื่อบ้าน 40 242,000.00 - -
รวมทั้งสิ้น 40 242,000.00 0 0.00 242,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด - 19 ได้รับการกักตัว 100% 2 สามารถป้องกันให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19 ในพื้นที่ได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 พ.ค. 2564 11:05 น.