กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี


“ โครงการจัดตั้งและบริหารจัดการระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 โดยการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ตำบลฝาละมี ”

ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางบุญพา พรหมแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งและบริหารจัดการระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 โดยการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ตำบลฝาละมี

ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-l3338-05-01 เลขที่ข้อตกลง 64-l3338-05-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งและบริหารจัดการระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 โดยการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ตำบลฝาละมี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งและบริหารจัดการระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 โดยการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ตำบลฝาละมี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งและบริหารจัดการระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 โดยการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ตำบลฝาละมี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-l3338-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-๑๙) ได้มีการแพร่ระบาดระลอกใหม่ในพื้นที่หลายจังหวัด ส่งผลให้มีจำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-๑๙) เป็นจำนวนมาก และมีแนวโน้มของจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะเวลาอันสั้น เกินขึดความสามารถของโรงพยาบาลในการรับดูแลผู้ป่วย ประกอบกับตำบล  ฝาละมี มีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) จำนวน ๙ ราย และมีประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคมีคำสั่งให้กักตัวเป็นเวลา ๑๔ วัน จำนวน ๕๒ ราย และขณะนี้มีแนวโน้มความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่อย่างรวดเร็ว
      เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดซึ่งออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๑) ข้อ ๗ (๓) กำหนดให้โรงพยาบาล สถานพยาบาล หรือหน่วยงานที่มีหน้าที่และอำนาจในการป้องกันและดูแลผู้ป่วยทั้งภาครัฐและเอกชน จัดหายา เวชภัณฑ์ เครื่องมือในการตรวจโรค เครื่องช่วยในการหายใจ และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นให้เพียงพอตามมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือแนะนำ
      ด้วยเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-๑๙) ให้กับประชาชนในพื้นที่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลฝาละมี จึงกำหนดจัดทำโครงการจัดตั้งและบริหารจัดการระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 ระดับพื้นที่ (LQ) ตำบลฝาละมี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ขึ้น เพื่อให้ชุมชนมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อสถานการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ผู้ที่ได้รับคำสั่งให้กักตัวจากเจ้าพนักงานควบคุมโรค ได้รับการปฏิบัติตามแนวทางที่ถูกต้อง เหมาะสม
  2. 2 เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน สร้างความเข้าใจ และรับฟังข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงาน
  2. 2.วางแผนการดำเนินงาน กำหนดกิจกรรมการดำเนินงานที่เหมาะสม
  3. 3.เจ้าพนักงานควบคุมโรค ออกคำสั่งให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการกักตัวตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข
  4. 4. ดำเนินการบริหารจัดการระบบการกักตัวของประชาชนผู้มีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ ตามคำสั่งของเจ้าพนักงานควบคุมโรค
  5. 5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 94
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

แสดงผลที่จะเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม หลังจากเสร็จสิ้นโครงการ ได้แก่     (1) สามารถลดอัตราการแพร่ระบาดโรคให้กับประชาชนในพื้นที่ได้ (2) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปฏิบัติเป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ผู้ที่ได้รับคำสั่งให้กักตัวจากเจ้าพนักงานควบคุมโรค ได้รับการปฏิบัติตามแนวทางที่ถูกต้อง เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการกักตัวตามหลักการที่ถูกต้อง ได้รับการดูแลจากเจ้าพนักงานสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
0.00

 

2 2 เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงรายเดิมมีอัตราลดลง และไม่เกิดประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงรายใหม่ในพื้นที่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 94
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 94
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้ที่ได้รับคำสั่งให้กักตัวจากเจ้าพนักงานควบคุมโรค ได้รับการปฏิบัติตามแนวทางที่ถูกต้อง เหมาะสม (2) 2 เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน สร้างความเข้าใจ และรับฟังข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงาน (2) 2.วางแผนการดำเนินงาน กำหนดกิจกรรมการดำเนินงานที่เหมาะสม (3) 3.เจ้าพนักงานควบคุมโรค ออกคำสั่งให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการกักตัวตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข (4) 4. ดำเนินการบริหารจัดการระบบการกักตัวของประชาชนผู้มีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ ตามคำสั่งของเจ้าพนักงานควบคุมโรค (5) 5. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งและบริหารจัดการระบบกักตัวผู้ต้องสงสัยโควิด-19 โดยการแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine) ตำบลฝาละมี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-l3338-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางบุญพา พรหมแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด