กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการอาหารดีมีประโยชน์เพื่อสุขภาพดีของลูกน้อย ประจำปี 2560 ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรไอมี ซูละ ผู้ดูแลเด็ก ศพด.หมู่ที่ 1 บ้านบางมะรวด

ชื่อโครงการ โครงการอาหารดีมีประโยชน์เพื่อสุขภาพดีของลูกน้อย ประจำปี 2560

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารดีมีประโยชน์เพื่อสุขภาพดีของลูกน้อย ประจำปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารดีมีประโยชน์เพื่อสุขภาพดีของลูกน้อย ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารดีมีประโยชน์เพื่อสุขภาพดีของลูกน้อย ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล พัฒนาการที่สมวัยเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการมีพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของเด็กเล็ก การที่เด็กเล็กจะมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆ ด้าน ต้องอาศัยความร่วมมือของหลายๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องเริ่มตั้งแต่แม่หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลเอาใจใส่อย่างถูกต้องตั้งแต่อยู่ในครรภ์แม่โดยเน้นการรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์ในปริมาณและสัดส่วนที่เพียงพอ เหมาะสม อาหารจึงเป็นปัจจัยสำคัญเบื้องต้นต่อสุขภาพของเด็กเล็กการปลูกฝังทัศนคติและความตระหนักในอาหารที่ดีมีคุณภาพและปลอดภัยควรเริ่มตั้งแต่ครอบครัวโดยเฉพาะผู้เป็นแม่ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการเลือกสรรอาหารให้แก่ครอบครัวและลูกน้อย ในส่วนของสถานบริการเด็กปฐมวัยหรือศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก็มีส่วนสำคัญรองลงมาในการส่งเสริมสุขภาพของเด็กเล็กให้เจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย สามารถตอบสนองความต้องการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจและสังคม เพราะภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์และแข็งแรงของเด็กเล็กย่อมนำไปสู่การมีศักยภาพด้านสติปัญญาและความคิดสร้างสรรค์อันเป็นรากฐานในการพัฒนาเด็กเล็กให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด ซึ่งเป็นสถานบริการเด็กปฐมวัยในชุมชนตำบลบ้านกลางมีบทบาทหน้าที่ในการเตรียมความพร้อมทางการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับเด็กเล็ก ส่งเสริมพัฒนาการการศึกษาปฐมวัยแก่เด็กเล็กเพื่อพัฒนาการสมวัยทั้ง 4 ด้าน มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ จึงได้จัดทำโครงการอาหารดีมีประโยชน์เพื่อสุขภาพของลูกน้อยภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวดขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายให้เด็กเล็กมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม 2. เพื่อให้เด็กเล็กได้รับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์มีสารอาหารครบตามที่ร่างกายต้องการ 3. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ด้านโภชนาการที่ถูกหลักอนามัยแก่ผู้ปกครองและเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กำหนดนโยบายโครงการ/กิจกรรม/ประชุมชี้แจ้ง/โครงการให้ผู้เกี่ยวข้อง 2. แต่งตั้งคณะทำงาน/กำหนดหน้าที่รับผิดชอบให้แก่ผู้ดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ผู้ปกครองเด็ก 3. ดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรม/ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก/สาธิตอาหาร 4. ประเมินผล/สร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 68
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เด็กเล็กทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวดมีร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย 2. เด็กเล็กทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวดได้รับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์มีสารอาหาร ครบถ้วนตามที่ร่างกายต้องการ 3. ผู้ปกครองเด็กเล็กเล็กมีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการมากขึ้นสามารถเลือกสรรอาหารที่ดีมีคุณภาพ ให้แก่คนในครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. กำหนดนโยบายโครงการ/กิจกรรม/ประชุมชี้แจ้ง/โครงการให้ผู้เกี่ยวข้อง 2. แต่งตั้งคณะทำงาน/กำหนดหน้าที่รับผิดชอบให้แก่ผู้ดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ผู้ปกครองเด็ก 3. ดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรม/ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก/สาธิตอาหาร 4. ประเมินผล/สร

วันที่ 18 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  1. ผู้ปกครองเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด                 จำนวน    58  คน
  2. ผู้ดูแลเด็กและผู้ช่วยดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด จำนวน      5  คน
  3. คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่โครงการ และผู้สังเกตการณ์                  จำนวน    5  คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กและผู้เกี่ยวข้อง   จำนวน  68  คน จำนวน 3 วันๆละ 1 มื้อจำนวน 3 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน  10,200  บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่โครงการ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กและผู้เกี่ยวข้อง   จำนวน  68  คน จำนวน 3 วันๆละ 2 มื้อจำนวน 6 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน  10,200  บาท
    • ค่าตอบแทนวิทยากรวันละ 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท (3 วัน) เป็นเงิน    7,200  บาท
    • ค่ากระเป๋าและเอกสารสำหรับผู้เข้าฝึกอบรม  เป็นเงิน    4,060  บาท
    • ค่าวัสดุอุปกรณ์ วัตถุดิบอาหารใช้สาธิตและฝึกปฏิบัติ เป็นเงิน    5,690  บาท
    • ค่าป้ายไวนิล ขนาด (1.2x2.5=1 ป้าย) เป็นเงิน      750  บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 38,100.- บาท (เงินสามหมื่นแปดพันหนึ่งร้อยบาทถ้วน) (หมายเหตุ...ทุกรายการถั่วเฉลี่ยได้ตามจริง)

 

68 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายให้เด็กเล็กมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม 2. เพื่อให้เด็กเล็กได้รับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์มีสารอาหารครบตามที่ร่างกายต้องการ 3. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ด้านโภชนาการที่ถูกหลักอนามัยแก่ผู้ปกครองและเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : 1. เด็กเล็กทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวดมีร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย 2. เด็กเล็กทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวดได้รับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์มีสารอาหาร ครบถ้วนตามที่ร่างกายต้องการ 3. ผู้ปกครองเด็กเล็กเล็กมีความรู้ด้านอาหารและโภชนาการมากขึ้นสามารถเลือกสรรอาหารที่ดีมีคุณภาพ ให้แก่คนในครอบครัว

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 68
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 68
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายให้เด็กเล็กมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม 2. เพื่อให้เด็กเล็กได้รับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์มีสารอาหารครบตามที่ร่างกายต้องการ 3. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ด้านโภชนาการที่ถูกหลักอนามัยแก่ผู้ปกครองและเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กำหนดนโยบายโครงการ/กิจกรรม/ประชุมชี้แจ้ง/โครงการให้ผู้เกี่ยวข้อง 2. แต่งตั้งคณะทำงาน/กำหนดหน้าที่รับผิดชอบให้แก่ผู้ดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ผู้ปกครองเด็ก 3. ดำเนินการตามโครงการ/กิจกรรม/ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก/สาธิตอาหาร 4. ประเมินผล/สร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารดีมีประโยชน์เพื่อสุขภาพดีของลูกน้อย ประจำปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรไอมี ซูละ ผู้ดูแลเด็ก ศพด.หมู่ที่ 1 บ้านบางมะรวด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด