กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง


“ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560 ”

ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายนราวุฒิแก้วหนูนวล

ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3344-1-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองธง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3344-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้เป็นโรคที่เป็นปัญหาต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน เป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหนะนำโรค เป็นปัญหาสาธารณสุขอันดับต้นๆ จากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรคในรอง 5 ปี ที่ผ่านมา (พ.ศ. 2555-2559) จังหวัดพัทลุงมีรางานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 954, 1,378 ,737 ,540 และ 1,245 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 187.73, 267.87 ,141.13 ,103.40 และ 236.40 ต่อแสนประชากร (กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อและระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง) และอำเภอป่าบอน มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ใยนรอบ5 ปี ย้อนหลัง (พ.ศ. 2555-2559) จำนวน 61,116.51, 35 และ 203 ราย คิดเป็นอัตราป่วย133.65 ,250.79, 86.47 ,73.81 และ 428.13 ต่อแสนประชากร และมีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยไข้เลือดออก จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.51
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหารซึ่งรับผิดชอบหมู่ที่ 6ตำบลหนองธง และหมู่ที่ 7,8 ตำบลทุ่งนารี มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง (2555-2559) จำนวน 3,7,1,1 และ18 รายคิดเป็นอัตราป่วย 101.66 ,237.21,33.98,31.20 และ 750.60 ต่อแสนประชากร ยังไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก ลักษณะการระบาดของโรคกระจายไปทุกกลุ่มอายุ แต่ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุระหว่าง 5-14 ปี จากปัญหาดังกล่าวจึงต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยใช้หลักการควบคุมโรคที่สำคัญ คือการป้องกันโรคล่วงหน้าด้วยการทำลายหรือควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์และครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชุมชนหนาแน่น หมู่บ้าน โรงเรียน วัด มัสยิด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานบริการสาธารณสุข แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายมักพบภายในหรือบริเวณบ้านส่วนมากเป็นภาชนะที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น โอ่งน้ำ แจกัน ยางรถยนต์ ฯลฯ ซึ่งการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนโดยทั่วไปทั้งภาครัฐและเอกชน ในการรณรงค์เชิงรุกให้การกำจัดลูกน้ำยุงลายเป็นกิจวัตรประจำวันในแต่ละสัปดาห์ ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้สอดคล้องตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมโรค ซึ่งเน้นการมีส่วนร่วมของคนในหมู่บ้าน/ชุมชนเป็นศูนย์กลางในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค โดยให้บ้านทุกกลุ่มบ้านมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายพร้อมกับเร่งรัดการควบคุมป้องกันโรคในทุกพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะหาร ตำบลทุ่งนารี จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกประจำปี 2560 นั้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
  2. 2. เพื่อลดอัตราความชุกของพาหนะนำโรคไข้เลือดออก
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลุกน้ำและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
    2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจนไม่เป็นปัญหาสาธารณสุข
    3. กลุ่มบ้านมีการดำเนินกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อลดอัตราความชุกของพาหนะนำโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลุกน้ำและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อลดอัตราความชุกของพาหนะนำโรคไข้เลือดออก (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลุกน้ำและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3344-1-18

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายนราวุฒิแก้วหนูนวล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด