กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”

ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาววนิดา เหล็มหมาด

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 พฤษภาคม 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,630.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019”เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส
ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบ และมีภาวะแทรกซ้อนที่ทำให้เสียชีวิตได้ พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน ในประเทศไทยได้มีการระบาดของโรคนี้เป็นวงกว้างในช่วงเดือนกุมภาพันธ์- เดือนมิถุนายน 2563 และเริ่มควบคุมได้ จากการร่วมมือของทุกหน่วยงาน โดยไม่พบการระบาดภายในประเทศเป็นเวลาหลายเดือน(จากรายงานสถานการณ์ Covid-19 ในประเทศไทยของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินกระทรวงสาธารณสุข) ณ วันที่ 14 ธันวาคม 2563 มีผู้ป่วยสะสม 4237 ราย พบผู้ติดเชื้อรายใหม่ 28 ราย ที่เดินทางมาจากต่างประเทศ โดยไม่พบผู้ติดเชื้อภายในประเทศจนกระทั่งเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2563 ได้พบการระบาดระลอกใหม่ ในจังหวัดสมุทรสาคร และกระจายไปในพื้นที่หลายจังหวัด (ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ Covid-19 ในประเทศไทยของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินกระทรวงสาธารณสุข) ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2563 มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 6,020 ราย โดยพบผู้ติดเชื้อภายในประเทศ และได้เพิ่มขึ้นจากเดิมอย่างรวดเร็ว และจากข้อมูลรายงานสถานการณ์ Covid-19 ในประเทศไทยล่าสุด ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม 2564 ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 1,940 ราย ผู้ป่วยยืนยันสะสม จำนวน 68,984 ราย หายป่วยแล้ว 39,481 ราย เสียชีวิตสะสม 245 ราย (โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข)และส่งผลให้เกือบทุกจังหวัดในประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อจากโรคดังกล่าวรวมทั้งจังหวัดพัทลุง ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม 2564 ผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 52 ราย ผู้ป่วยยืนยันสะสมทั้งหมด 276 ราย หายป่วยแล้ว จำนวน 28 ราย เสียชีวิตสะสม 2 ราย (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง) และได้แพร่ระบาดมายังอำเภอป่าบอน โดยพบผู้ติดเชื้อในอำเภอป่าบอน ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม 2564 ผู้ป่วยสะสม จำนวน 29 ราย หายป่วยแล้ว จำนวน 3 ราย เสียชีวิต 1 ราย (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง) ซึ่งในพื้นที่ของเขตตำบลป่าบอนมี รพ.สต.ที่รับผิดชอบในการป้องกันและควบคุมโรคดังกล่าว จำนวน 2 แห่ง และมีอาสาสมัครสาธารณสุขที่ช่วยป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่ รวมทั้งสิ้น จำนวน 144 ราย และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 20 ราย กลุ่มเสี่ยง จำนวน 20 ราย กลุ่มเสี่ยงสูงที่ต้องกักตัว จำนวน 30 ราย จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโครานา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือการป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมีมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจลหรือสเปร์แอลกอฮอล์ การปฏิบัติตนเองอย่างเคร่งครัดในการป้องกันโรค การคัดกรองผู้รับบริการหรือประชาชนที่ใช้บริการในสถานที่ที่มีผู้คนจำนวนมาก รวมทั้งเน้นยำให้สถานบริการต่างๆมีมาตรการในการป้องกันอย่างถูกต้อง
      โดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 5 พ.ศ 2546 ได้กำหนด ให้องค์การบริหารส่วนตำบลป่าบอน มีหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อ ซึ่งโรคเชื้อไวรัสโครานา2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่อจากคนสู่คนที่เป็นอันตรายต่อชีวิต สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลป่าบอน ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญจากสถานการณ์ของโรคดังกล่าว และเพื่อป้องกันกลุ่มเสี่ยงในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลป่าบอน จึงต้องดำเนินการจัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ประจำปีงบประมาณ 2564 เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19) ในเขตพื้นที่ตำบลป่าบอน โดยการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรค ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขของ อบต.ป่าบอน เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และ อสม.ในตำบลป่าบอน ซึ่งจะต้องออกพื้นที่ตรวจคัดกรองป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
  2. เพื่อควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19)ในบุคคลที่จะต้องกักตัวและกลุ่มเสี่ยงที่ใกล้ชิดและสัมผัสกับผู้ป่วยไม่ให้มีการแพร่กระจายของโรค โดยการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. .จัดซื้อแอลกอฮอล์เจล สเปร์แอลกอฮอล์ และขากดเจลแบบเหยียบ
  2. จัดซื้อหน้ากากอนามัยแบบ 50 ชิ้น
  3. จัดซื้อถุงมือทางการแพทย์
  4. น้ำยาฟอกขาว(ไฮเตอร์)
  5. ถุงขยะติดเชื้อ
  6. เครื่องวัดอุณหภูมิดจิตอลมีขาตั้ง
  7. ซิงค์ล้างมือ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 214
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลป่าบอนป้องกันตนเองจากโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19)ได้อย่างถูกต้อง 2.สามารถป้องกันกลุ่มเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลป่าบอนให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. .จัดซื้อแอลกอฮอล์เจล สเปร์แอลกอฮอล์ และขากดเจลแบบเหยียบ

วันที่ 11 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุทางการแพทย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ี่มีภาวะเสี่ยงในพื้นที่มีวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่เพียงพอต่อการป้องกันตนเอง

 

214 0

2. จัดซื้อหน้ากากอนามัยแบบ 50 ชิ้น

วันที่ 11 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงมีวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่พียงพอต่อการป้องกันตนเอง

 

214 0

3. จัดซื้อถุงมือทางการแพทย์

วันที่ 11 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุทางการแพทย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ที่มีภาวะเสียงมีวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่เพียงพอ

 

214 0

4. น้ำยาฟอกขาว(ไฮเตอร์)

วันที่ 11 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พื้นที่เสี่ยงในชุมชนมีวัสดุอุปกรณ์ที่ช่วยในการทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรค

 

214 0

5. ถุงขยะติดเชื้อ

วันที่ 11 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุอุกรณ์างการแพทย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในชุมชนมีถุงขยะติดเชื้อที่รองรับหน้ากากอนามัยในพื้นที่

 

214 0

6. เครื่องวัดอุณหภูมิดจิตอลมีขาตั้ง

วันที่ 11 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุทางการแพทย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในชุมมีเครื่องวัดอุณหภมูิได้อย่างทั่วถึง

 

214 0

7. ซิงค์ล้างมือ

วันที่ 11 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุทางการแพทย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สำนักงานมีอ่างล้างมือเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

 

214 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19) ในเขตพื้นที่ตำบลป่าบอน โดยการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรค ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขของ อบต.ป่าบอน เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และ อสม.ในตำบลป่าบอน ซึ่งจะต้องออกพื้นที่ตรวจคัดกรองป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขของ อบต.ป่าบอน เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และ อสม.ในตำบลป่าบอน สามารถป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19) ในเขตพื้นที่ตำบลป่าบอน
0.00

 

2 เพื่อควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19)ในบุคคลที่จะต้องกักตัวและกลุ่มเสี่ยงที่ใกล้ชิดและสัมผัสกับผู้ป่วยไม่ให้มีการแพร่กระจายของโรค โดยการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : เพื่อลดการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19) ในบุคคลที่จะต้องกักตัวและกลุ่มเสี่ยงที่ใกล้ชิดและสัมผัสกับผู้ป่วย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 214
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 214
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19) ในเขตพื้นที่ตำบลป่าบอน โดยการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรค ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขของ อบต.ป่าบอน เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และ อสม.ในตำบลป่าบอน ซึ่งจะต้องออกพื้นที่ตรวจคัดกรองป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค (2) เพื่อควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid - 19)ในบุคคลที่จะต้องกักตัวและกลุ่มเสี่ยงที่ใกล้ชิดและสัมผัสกับผู้ป่วยไม่ให้มีการแพร่กระจายของโรค โดยการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) .จัดซื้อแอลกอฮอล์เจล  สเปร์แอลกอฮอล์ และขากดเจลแบบเหยียบ (2) จัดซื้อหน้ากากอนามัยแบบ 50 ชิ้น (3) จัดซื้อถุงมือทางการแพทย์ (4) น้ำยาฟอกขาว(ไฮเตอร์) (5) ถุงขยะติดเชื้อ (6) เครื่องวัดอุณหภูมิดจิตอลมีขาตั้ง (7) ซิงค์ล้างมือ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววนิดา เหล็มหมาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด