กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้ปกครอง เด็กเล็ก ได้เรียนรู้และเข้าใจเก่ียวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสามารถนำไปใช้ประกอบอาชีพเกษตรกร
เด็กได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
เด็ก ผู้ปกครองได้ร่วมกันปลูกผักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากโครงการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็ก ศพด.ทต.บ้านสวน ได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากโครงการ
84.00 100.00 100.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก/บุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๗ ผู้ปกครอง ครู ผดด.บุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
84.00 100.00 100.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการปรุงอาหารให้บุตรหลาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการปรุงอาหารให้บุตรหลาน
84.00 100.00 100.00

 

4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์
ตัวชี้วัด : ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น
20.00 40.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 168 168
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 84 84
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครองเด็กในศูนย์ 84 84

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษจากโครงการ (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก/บุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษและสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน (3) เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการปรุงอาหารให้บุตรหลาน (4) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินโครงการ (2) กิจกรรมประชุมชี้้แจงสร้างความเข้าใจการดำเนินงานโครงการ และเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สถานการณ์การปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน (3) แต่งตั้งคำสั่งมอบหมายงาน (4) การทำปุ๋ยหมัก (5) กิจกรรมติดตามการดำเนินงานการปลูกผักที่บ้านของผู้ปกครอง (6) กิจกรรมการมีส่วนร่วมในการดูแลเรื่องอาหารปลอดภัย " การปรุงอาหารที่ศพด.บ้านสวน" (7) ถอดบทเรียนและสรุปโครงการ คืนข้อมูลกลับชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรเพิ่มปริมาณเมล็ดพันธุ์ผักให้มีจำนวนมากกว่านี้             (2) ระยะเวลาในการดำเนินโครงการควรจะมีระยะเวลามากกว่านี้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh