กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน


“ โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 ในเขตวัดเขาอ้อ ศาลาประชุมม.2และม.3 เทศบาลตำบลบ้านสวน ”

ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนันทวดี ไทยถัด อสม.

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 ในเขตวัดเขาอ้อ ศาลาประชุมม.2และม.3 เทศบาลตำบลบ้านสวน

ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3325-2-1 เลขที่ข้อตกลง 28/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤษภาคม 2564 ถึง 14 มิถุนายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 ในเขตวัดเขาอ้อ ศาลาประชุมม.2และม.3 เทศบาลตำบลบ้านสวน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 ในเขตวัดเขาอ้อ ศาลาประชุมม.2และม.3 เทศบาลตำบลบ้านสวน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เจ้าหน้าที่วัดเขาอ้อและประชาชน ม.2และม.3 มีอุปกรณ์ เครื่องมือไว้ใช้ในการป้องกันโรคระบาด COVID-19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน จำนวน 15 คน (2) ชี้แจงการทำงานแก่คณะทำงานในทีมและติดตั้งอุปกรณ์ช่วยคัดกรองภายในวัดเขาอ้อ ศาลาประชุม ม.2และม.3 (3) แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่ประชาชน (4) สรุปผลเเละประเมินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการคัดกรองในทุกกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเน้นย้ำทุกคนให้สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ทุกครั้งเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด19 เป็นปัญหาที่สำคัญและใกล้ตัวมากยิ่งขึ้น ซึ่งสถานที่สำคัญอย่างวัดเขาอ้อเป็นสถานที่สำคัญทางศาสนาของชาวพุทธ มีประชาชนทั้งในและนอกพื้นที่มาเคารพสักการะอยู่เป็นประจำ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคในช่วงนี้ในจังหวัดพัทลุงโดยเฉพาะอำเภอควนขนุน ตอนนี้มีจำนวน 87 คน เข้ารับการรักษาใน รพ.ควนขนุนอยู่(ข้อมูล 12/05/2564) ซึ่งทางกลุ่มเงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้าน ม.3 ต.มะกอกเหนือเล็งเห็นว่าสถานที่ทางศาสนาดังกล่าวและศาลาประชุมหมู่บ้าน ม.2และม.3 ยังมีอุปกรณ์ในการป้องกันโรคระบาดดังกล่าวไม่เพียงพอ จึงเห็นว่าควรมีการจัดหาอุปกรณ์ไว้เพื่อป้องกันสำหรับเจ้าหน้าที่ ประชาชนทั่วไป รวมถึงพระภิกษุภายในวัด เพื่อใช้คัดกรองบุคคลที่มาทำกิจกรรมเช่น พิธีปลุกเสกวัตถุมงคลภายในวัด บุคคลที่มาทำพิธีต่างๆในวัด หรืองานบุญต่างๆ สำหรับศาลาประชุมหมู่บ้าน ใช้เวลามีกิจกรรมประชุมเพื่อชี้แจงสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆเป็นต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เจ้าหน้าที่วัดเขาอ้อและประชาชน ม.2และม.3 มีอุปกรณ์ เครื่องมือไว้ใช้ในการป้องกันโรคระบาด COVID-19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน จำนวน 15 คน
  2. ชี้แจงการทำงานแก่คณะทำงานในทีมและติดตั้งอุปกรณ์ช่วยคัดกรองภายในวัดเขาอ้อ ศาลาประชุม ม.2และม.3
  3. แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่ประชาชน
  4. สรุปผลเเละประเมินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนทุกคนที่เดินทางมายังสถานที่เขตตำบลบ้านสวนและประชาชนในพื้นที่เองมีอุปกรณ์คัดกรองและห่างไกลจากโรคระบาดโควิด19


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

หลังดำเนินโครงการเจ้าหน้าที่วัดเขาอ้อและประชาชน ม.2และม.3 มีอุปกรณืเครื่องมือไว้ใช้ในการป้องกันโรคระบาด COVID-19 และทุกคนที่มาติดต่อที่วัดเขาอ้อ ต้องผ่านการคัดกรองทุกคนก่อนเข้าบริเวณวัด ในส่วนของศาลาประชุม ม.2และ ม.3 เมื่อมีการประชุมจะมีกิจกรรมคัดกรองทุกครั้ง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เจ้าหน้าที่วัดเขาอ้อและประชาชน ม.2และม.3 มีอุปกรณ์ เครื่องมือไว้ใช้ในการป้องกันโรคระบาด COVID-19
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เจ้าหน้าที่วัดเขาอ้อและประชาชน ม.2และม.3 มีอุปกรณ์ เครื่องมือไว้ใช้ในการป้องกันโรคระบาด COVID-19
350.00 400.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 320
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เจ้าหน้าที่วัดเขาอ้อและประชาชน ม.2และม.3 มีอุปกรณ์ เครื่องมือไว้ใช้ในการป้องกันโรคระบาด COVID-19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน จำนวน 15 คน (2) ชี้แจงการทำงานแก่คณะทำงานในทีมและติดตั้งอุปกรณ์ช่วยคัดกรองภายในวัดเขาอ้อ ศาลาประชุม ม.2และม.3 (3) แนะนำการล้างมือและสวมหน้ากากอนามัยแก่ประชาชน (4) สรุปผลเเละประเมินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการคัดกรองในทุกกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเน้นย้ำทุกคนให้สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ทุกครั้งเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 ในเขตวัดเขาอ้อ ศาลาประชุมม.2และม.3 เทศบาลตำบลบ้านสวน

รหัสโครงการ 64-L3325-2-1 รหัสสัญญา 28/2564 ระยะเวลาโครงการ 12 พฤษภาคม 2564 - 14 มิถุนายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดการเรียนรู้การใช้อุปกรณ์ในการคัดกรองโรคระบาด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีการทำงานเป็นระบบ มีการประชุมก่อนเริ่มงาน มีการประสานงานในการทำงานในชุมชนและภาคีเครือข่ายต่างๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

มีการติดตามข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมในอินเตอร์เนต และมีการใช้แอปพลิเคชั่นต่างๆมากขึ้น เช่น หมอพร้อม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือทุกครั้งก่อน-หลังเดินทางนอกบ้านเสมอ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

เกิดการดูเเลสุขภาพมากขึ้น กินร้อนช้อนกลาง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการออกกำลังกายเพิ่มภูมิคุ้มกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

ต้องมีการเว้นระยะห่าง กิจกรรมต่างๆลดลง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ในสถานการณ์โรคระบาดมีความเครียดเพิ่ม เรื่องรายได้ การเป็นอยู่ มีการจัดการดูแลตัวเองมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

มีการดูแล ป้องกันตัวเองและบุคคลในครอบครัวมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

มีการจัดสถานที่คัดกรองไว้ในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ทุกคนก่อนเข้าวัดเขาอ้อและ ศาลาประชุมหมู่บ้านต้องผ่านการคัดกรองก่อน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

ทุกคนในสังคมปฏิบัติตามข้อตกลงของสังคม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการติดตามและส่งต่อข้อมูลในชุมชน มีการติดตามกลุ่ม อสม.และผู้นำชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

กลุ่ม อสม.รู้สึกภูมิใจที่มีบทบาทในการช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 ในเขตวัดเขาอ้อ ศาลาประชุมม.2และม.3 เทศบาลตำบลบ้านสวน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3325-2-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนันทวดี ไทยถัด อสม. )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด