กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและบูรณาการการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน ในการสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลปากช่องนานา (ประปา)
วันที่อนุมัติ 1 กันยายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2563 - 31 ตุลาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 พฤศจิกายน 2564
งบประมาณ 37,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายณรงค์ศักดิ์ บำรุงถิ่น
พี่เลี้ยงโครงการ นายณรงค์ศักดิ์ บำรุงถิ่น
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
ละติจูด-ลองจิจูด 14.680687,101.399994place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 90 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้งสำคัญคือการเข้าสังคมสูงวัย (Aging Society) ตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั่นคือประเทศไทยก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Completed Aged Society) โดยสัดส่วนผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมาตามคาดการณ์แล้วนั้นทั้งนี้ประเทศไทยจะก้าวสู่การเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super Aged Society) ในปี พ.ศ. 2578 ซึ่งประชากรที่สูงอายุจะมีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมดและเมื่อพิจาณาจำนวนผู้สูงอายุในรายจังหวัด (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) พบว่าจังหวัดนครราชสีมามีประชากรสูงอายุมากที่สุดคือ 423,934 คนนอกจากนี้จากข้อมูลการสำรวจการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทยของสำนักงานสถิติแห่งชาติปี พ.ศ. 2558 ยังพบว่าผู้สูงอายุชาวไทยที่ทำงานมีสัดส่วนอยู่ร้อยละ 36.3 หรือคิดเป็นแรงงานสูงอายุจำนวน 3.78 ล้านคนทั้งนี้เมื่อจำแนกประเภทผู้สูงอายุพบว่ามีผู้สูงอายุส่วนใหญ่ที่ดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่นร้อยละ 79.5 โดยส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 60-69 ปีมีผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งผู้อื่นในบางกิจกรรมของกิจวัตรประจำวันร้อยละ 19 โดยส่วนใหญ่อยู่ในวัยมากกว่า 80 ปีและมีผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมดร้อยละ 1.5 โดยส่วนใหญ่อยู่ในวัยมากกว่า 80 ปีเห็นได้ว่าผู้สูงอายุไทยส่วนใหญ่ยังเป็นผู้สูงอายุที่ยังมีความสามารถดำเนินชีวิตได้โดยไม่จำเป็นต้องมีผู้ดูแลหรือยังสามารถเป็นพลังของสังคมได้ดังนั้นเพื่อเป็นการพัฒนาความพร้อมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมในการดูแลสุขภาพของตนเองการเตรียมความพร้อมต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันรวมถึงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนต่อผู้สูงอายุทางคลินิกหมอครอบครัวประปาได้เห็นถึงความสำคัญด้านการดูแลวัยผู้สูงอายุตลอดมาจึงได้จัดทำโครงการฯ นี้ขึ้นมาเพื่อพัฒนาและวางแผนการจัดบริการสุขภาพเพื่อให้เกิดต้นแบบงานบูรณาการด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุและป้องกันการพลัดตกล้ม

ทำให้ลดการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุและป้องกันการพลัดตกล้ม

0.00
2 2.เพื่อจัดบริการสุขภาพให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพป้องกันตนเองจากภัยคุกคามทางสุขภาพได้

ทำให้จัดบริการสุขภาพให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพป้องกันตนเองจากภัยคุกคามทางสุขภาพได้

0.00
3 ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 10 ด้าน รวมถึงประเมินภาวะเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม

ทำให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 10 ด้าน รวมถึงประเมินภาวะเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม

0.00
4 4.เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาศให้ผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองและผู้สูงอายุด้วยกันได้

ทำให้สร้างพื้นที่และโอกาศให้ผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองและผู้สูงอายุด้วยกันได้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1.เพื่อลดการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุและป้องกันการพลัดตกล้ม

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2.เพื่อจัดบริการสุขภาพให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพป้องกันตนเองจากภัยคุกคามทางสุขภาพได้

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ 10 ด้าน รวมถึงประเมินภาวะเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : 4.เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาศให้ผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองและผู้สูงอายุด้วยกันได้

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ก.ย. 63 - 31 ต.ค. 64 โครงการส่งเสริมและบูรณาการการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน ในการสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ 37,100.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

กิจกรรมที่ 1 เตรียมความพร้อม-ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน-เตรียมหลักสูตรรับสมัครผู้สนในเข้าร่วมโครงการจัดหาวัสดุอุปกรณ์สถานที่กิจกรรมที่ 2 โรงเรียนผู้สูงอายุประเด็นการเข้ารร. ผู้สูงอายุเรียนรู้เรื่อง-สูงวัยอย่างสง่าสุข 5 มิติ-พักกายพักใจรวมกลุ่มประดิษฐ์นวัตกรรมเพื่อสุขภาพ-อาหารและโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ-ร่างกายสูงวัย แต่สมองยังสดใสในยุค New Normal-โรคที่พบบ่อยและการปฏิบัติตัวของผู้สูงวัยในยุค New Normal กิจกรรมที่ 3 ตรวจสุขภาพเบื้องต้น-คัดกรองผู้สูงอายุ 10 ด้าน (ตรวจความดันโลหิต, เบาหวาน, CVD, สุขภาพช่องปาก, สมองเสื่อม, คัดกรอง 2Q, ข้อเข่าเสื่อม, ภาวะหกล้ม, ADL, BMI)-ค้นหาและส่งต่อรักษาผู้ที่พบความเสี่ยงไปยังคลินิกผู้สูงอายุ-ประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 65 2. การหกล้มของผู้สูงอายุในครัวเรือนลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 2

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2564 11:41 น.