กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานตำบลท่างิ้ว ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ”

ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายประยงค์ ขวัญสิริดำรง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานตำบลท่างิ้ว ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔

ที่อยู่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1529-1-07 เลขที่ข้อตกลง 13/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานตำบลท่างิ้ว ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานตำบลท่างิ้ว ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานตำบลท่างิ้ว ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1529-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากความผิดปกติของร่างกายที่มีการผลิตฮอร์โมนอินซุลินไม่เพียงพอ หรือร่างกายไม่สามรถนำน้ำตาลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเกิดการดื้อต่ออินซูลิน ร่างกายดึงน้ำตาลออกจากเลือดได้น้อยลง ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเป็นภาวะฉุกเฉินที่ผู้ป่วยจะมีอาการหิวน้ำบ่อย ปัสสาสะบ่อย ซึมเศร้า และอาจหมดสติ ที่พบบ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเป็นระยะเวลานาน ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ จะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งทางตา ไต เท้า สมอง หัวใจ หรืออาจหมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง หมดสติจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ติดเชื้อง่าย หลอดเลือดตีบหรือแตกในสมองได้ ทำให้เป็นอัมพาตได้ ผลกระทบของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน มีทั้งกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว นอกจากนี้ผลเสียทางอ้อม อันเกิดจากภาวะแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการหรือไร้สมรรถภาพ สมรรถภาพในการทำงานลดลง ปัจจุบันเบาหวานเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาหายได้ แต่สามารถอยู่โดยไม่มีภาวะแทรกซ้อนได้ด้วยการควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ใระดับปกติ โดยแพทย์จะจ่ายยาลดระดัน้ำตาล และยาควบคคุมเบาหวาน ประกอบกับแนะนำการเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ผู้ปวยเบาหวานที่สามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้ จะต้องสามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1c) ได้ คือจะต้องมีค่า HbA1cน้อยกว่า7%ผลจากการวิจัยหลายชิ้นชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมไปถึงการออกกำลังกายเป็นประจำนั้น ส่งผลโดยตรงต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ มักจะมีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานในจำนวนที่ศุงกว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ สถานการณ์ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๒-ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ พบว่า ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ มีผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน ๒๔๕ คน ได้รับการตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน ๒๓๖ คน ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๔๓ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ มีผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน ๒๖๕ คน ไดรับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ๒๕๓ คน ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ๑๐๗ คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๓๘ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ (กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔)มีผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน ๒๖๗ คน ได้รับการตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน ๒๒๓ คน ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ๖๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๒๔.๔๓ จากข้อมูลเบื้อต้น ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้จำนวน ๑๕๘ คน หากไม่ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีแนวโน้มทีจะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้ การได้รับการรักษาโรคเบาหวาน โดนการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอ เพื่อการควบคุมโรคทีสมบูรณ์ ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรค รวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งถ้าปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอตั้งแต่ระยะต้น จะสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่างิ้ว ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรุ้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงพฤติกรรมการดูแลเองที่ถูกต้อง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเกิดการดูแลตนเองแบบยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าระดับน้ำตาลในเลือด HbA1C ลดลงจากเดิมเพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้มีความรู้เรื่อวเบาหวาน อาหาร หารใช้ยา การออกกำลังกายทและการขจัดความเครียด
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน อาหาร การใช้ยา การออกกำลังกาย และการขจัดความเครียดมากกกว่าร้อยละ ๖๐
  3. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๘๐ ๒.ประชากรกลู่มป่วยโรคเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนไม่เกินร้อยละ ๓ ๓.ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับ HbA1c ได้ มากกว่าร้อยละ ๔๐ ของผู้ป่วยเบาหวาน ๔.มีชมรมผู้ป่วยเบาหวานตำบลท่างิ้ว / บุคคลต้นแบบผ้ป่วยเบาหวาน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าระดับน้ำตาลในเลือด HbA1C ลดลงจากเดิมเพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้มีความรู้เรื่อวเบาหวาน อาหาร หารใช้ยา การออกกำลังกายทและการขจัดความเครียด
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน อาหาร การใช้ยา การออกกำลังกาย และการขจัดความเครียดมากกกว่าร้อยละ ๖๐
    0.00

     

    2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน อาหาร การใช้ยา การออกกำลังกาย และการขจัดความเครียดมากกกว่าร้อยละ ๖๐
    ตัวชี้วัด : หลังจากเร็จสิ้นโครงการ กลุ่มเป้าหมายมีค่าน้ำตาลลดลงจากเดิม มากกว่าร้อยละ ๔๐ ของกลุ่มเป้าหมาย
    0.00

     

    3 เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาล
    ตัวชี้วัด : เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาล
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าระดับน้ำตาลในเลือด HbA1C ลดลงจากเดิมเพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้มีความรู้เรื่อวเบาหวาน อาหาร หารใช้ยา การออกกำลังกายทและการขจัดความเครียด (2) กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน อาหาร การใช้ยา การออกกำลังกาย และการขจัดความเครียดมากกกว่าร้อยละ ๖๐ (3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานตำบลท่างิ้ว ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 64-L1529-1-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประยงค์ ขวัญสิริดำรง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด