กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคอบน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง ตำบลสาคอบน ปี พ.ศ.2560 ”

ตำบลสาคอบน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายไพซอล์ โตะเจะ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง ตำบลสาคอบน ปี พ.ศ.2560

ที่อยู่ ตำบลสาคอบน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง ตำบลสาคอบน ปี พ.ศ.2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาคอบน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคอบน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง ตำบลสาคอบน ปี พ.ศ.2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง ตำบลสาคอบน ปี พ.ศ.2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาคอบน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคอบน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรตเรื้อรังเป็นภัยเงียบที่คร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมาก ซึ่งในปี 2559 ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาคอบน พบผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง จำนวน 132 ราย และผู้มีอายุ 35 ปีขึ้นไป พบผู้้ที่ภาวะเสี่ยงเป็นโรค จำนวน 103 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5ถ้าผู้ที่มีภาวะเสี่ยงไม่ได้รับการดูแล หรือการเปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม อาจพัฒนาเป็นโรคเรื้อรังได้ในอนาคต อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ทำให้เป็นภาระต่อสังคม เศรษฐกิจ และครอบครัวที่ต้องทำหน้าที่ดูแล และคนที่มีโรคเรื้อรังส่วนใหญ่มักไม่ค่อยรู้ตัว ดังนั้นโอกาสจะเกิดโรคแทรกซ้อนจากเรื้อรังก็มีมากตามไปด้วย โดยทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อหัวใจ ไต ตา และสมอง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ ดังนั้น จึงเปรีบภาวะเรื้อรังว่าเป็น "ภัยเงียบ" หรือ "ฆาตกรเงียบ" นั้นเอง ด้วยความตระหนักถึงปัญหาและภัยของภาวะเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาคอบน จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง ลดโรคเรื้องในกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพที่ดี มีความรู้ในการดูแลตนเอง ลดการเกิดโรคเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อน และการสูญเสียของประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคเรื้อรัง และภาวะแทรกซ้อนได้
  3. เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆ ละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม)
  4. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการอกกำลังกายสม่ำเสมอ
  5. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลโรคเรื้อรัง มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที โดยจัดตั้งชมรมจักรยาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
    2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรค และภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่งยืน
    3. เกิดเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงออกกำลังกาย กินผัก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ในการดูแลตนเอง

     

    2 เพื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคเรื้อรัง และภาวะแทรกซ้อนได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 กลุ่่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีการปรับปลี่ยนพฤติกรรม

     

    3 เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆ ละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม)
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ประชาชนออกกำลังกาย

     

    4 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการอกกำลังกายสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

     

    5 เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลโรคเรื้อรัง มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที โดยจัดตั้งชมรมจักรยาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ประชาชนมีการออกกำลังกาย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคเรื้อรัง และภาวะแทรกซ้อนได้ (3) เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆ ละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5 ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) (4) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการอกกำลังกายสม่ำเสมอ (5) เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบลโรคเรื้อรัง มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที โดยจัดตั้งชมรมจักรยาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผัก ออกกำลังกาย ห่างไกลโรคเรื้อรัง ตำบลสาคอบน ปี พ.ศ.2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายไพซอล์ โตะเจะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด