กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่


“ โครงการคืนข้อมูลด้านสุขภาพในตำบล ”

ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.นาพู่

ชื่อโครงการ โครงการคืนข้อมูลด้านสุขภาพในตำบล

ที่อยู่ ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี จังหวัด อุดรธานี

รหัสโครงการ 13 เลขที่ข้อตกลง 13

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2562 ถึง 15 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคืนข้อมูลด้านสุขภาพในตำบล จังหวัดอุดรธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคืนข้อมูลด้านสุขภาพในตำบล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคืนข้อมูลด้านสุขภาพในตำบล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี รหัสโครงการ 13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ธันวาคม 2562 - 15 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ และเป็นกลไกในการเสริมพลังให้กับภาคท้องถิ่นและชุมชนรวมทั้งส่งเสริมและป้องกันด้านสุขภาพของชุมชน จึงจำเป็นต้องเสริมสร้างความเข้มแข็งการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการกองทุนฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และบรรลุเป้าหมาย อีกทั้งสร้างความเข้าใจในการดำเนินงาน และสามารถส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาความสามารถของท้องถิ่นชุมชนให้สามารถดำเนินการจัดการระบบสุขภาพชุมชนได้ ด้วยการสร้างกระบวนการจัดการสุขภาพและเพิ่มทักษะการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือการบริหารการเปลี่ยนแปลงส่งเสริมการสร้างและบริหารจัดการนวัตกรรมในทุกระดับหลากหลายรูปแบบที่ส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ตอบสนองนโยบายสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในการจัดให้มีหน่วยงานระดับท้องถิ่นมีกองทุนสุขภาพระดับตำบล ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชนซึ่งจะนำไปสู่การมีสุขภาพดีโดยชุมชนเพื่อชุมชน เพื่อให้การพัฒนาสุขภาพของชุมชนเป็นไปตามเป้าประสงค์ จุดหมายปลายทางและทิศทางที่กำหนดไว้ และสอดคล้องธรรมนูญสุขภาพตำบลนาพู่ พ.ศ.2557 (ฉบับที่ 1 )หมวดที่ 2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์และเป้าหมายของระบบสุขภาพตำบลนาพู่
ตามที่กล่าวมาข้างต้น คณะกรรมการกองทุน ฯ แกนนำประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ภาคีและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ จำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ในการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับตำบล โดยการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มาเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการกองทุนฯ ซึ่งเป็นกระบวนการที่ประชาชนทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมคิด ร่วมค้นหา ร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนา และร่วมรับผลประโยชน์ โดยเริ่มจากการทบทวนงานในอดีต กำหนดอนาคต และการประเมินศักยภาพชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือให้เกิดการทบทวนตนเอง โดย คำนึงถึงศักยภาพ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามศักยภาพของชุมชน กระตุ้นประชาชนให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ตลอดจนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมด้านสุขภาพ และร่วมติดตามประเมินผล โดยสามารถขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาพู่ บรรลุวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางจึงจำเป็นต้องมีการคือข้อมูลสถขภาพ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการกองทุน เพื่อพัฒนาให้เกิดสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. สร้างการรับรู้ปัญหาสุขภาพในประชาชนตำบลนาพู่
  2. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในตำบลนาพู่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำคู่มือความรู้และสรุปสถาณการณ์สุขภาพโดยร่วมในพื้นที่ตำบลนาพู่
  2. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภาวะสุขภาพชุมชนตำบลนาพู่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนรับรู้ปัญหาด้านสุขภาพของตนเอง 2.มีข้อเสนอในการแก้ไขปัญหาสุขภาพจากประชาชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 สร้างการรับรู้ปัญหาสุขภาพในประชาชนตำบลนาพู่
ตัวชี้วัด : ประชาชนและคณะกรรมมาการกองทุนรับรู้ปัญหาเพื่อแก้ไข้และส่งเสริมภาวะสุขภาพของประชาชนต่อไป
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในตำบลนาพู่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างการรับรู้ปัญหาสุขภาพในประชาชนตำบลนาพู่ (2) เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในตำบลนาพู่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำคู่มือความรู้และสรุปสถาณการณ์สุขภาพโดยร่วมในพื้นที่ตำบลนาพู่ (2) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภาวะสุขภาพชุมชนตำบลนาพู่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคืนข้อมูลด้านสุขภาพในตำบล จังหวัด อุดรธานี

รหัสโครงการ 13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.นาพู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด