กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่


“ โครงการครอบครัวอบอุ่นป้องกันท้องก่อนวัย โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ”

ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี

หัวหน้าโครงการ
สภาเด็กและเยาวชนตำบลนาพู่

ชื่อโครงการ โครงการครอบครัวอบอุ่นป้องกันท้องก่อนวัย โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ที่อยู่ ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี จังหวัด อุดรธานี

รหัสโครงการ 02 เลขที่ข้อตกลง 02

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 สิงหาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครอบครัวอบอุ่นป้องกันท้องก่อนวัย โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จังหวัดอุดรธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครอบครัวอบอุ่นป้องกันท้องก่อนวัย โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครอบครัวอบอุ่นป้องกันท้องก่อนวัย โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาพู่ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี รหัสโครงการ 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 สิงหาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงการดำรงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยาย กลายเป็นครอบครัวเดี่ยว อีกทั้งสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ทำให้พ่อแม่ต้องประกอบอาชีพนอกบ้าน ส่งผลให้สภาพครอบครัวขาดความอบอุ่น เยาวชนในครอบครัวขาดการดูแลและชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสม ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัตน์ และวัฒนธรรมข้ามชาติ ทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า เช่น สื่อลามกในโลกอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้มีผลทำให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม ด้วยการขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ ทางเพศของตนเอง เยาวชนจึงมีเพศสัมพันธ์ในเวลาที่ไม่เหมาะสม และขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา จึงส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ปัญหาแม่วัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ นับเป็นปัญหาที่สำคัญในสังคมปัจจุบันที่ต้องได้รับการแก้ไข จากผลการสำรวจขอยูนิเชฟ (UNICEF) เมื่อปี พ.ศ.2560 พบว่า เยาวชนมีความรู้เรื่อง เพศศึกษา การคุมกำเนิด การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในระดับที่ต่ำมาก ซึ่งยังมีการรับรู้เรื่องเพศไม่ถูกต้อง เช่นการนับระยะปลอดภัยหน้า7- หลัง7 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ เนื่องจากวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมมีอายุน้อยลงมาก วัยรุ่นเหล่านี้จึงขาดวุฒิภาวะในการจัดการกับปัญหาชีวิตที่เกิดขึ้น วัยรุ่นบางคนไม่ทราบว่าตนเองตั้งครรภ์ ทำให้ไม่ได้ดูแลสุขภาพร่างกาย และไม่ได้รับอาหารเสริม บุตรของแม่วัยรุ่นมักประสบปัญหาสุขภาพไม่สมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักน้อย บางรายหาทางออก โดยวิธีการทำแท้ง ผลจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เด็กตกเลือด ติดเชื้อ รุนแรงจนอาจเสียชีวิตได้บางรายก็ต้องออกจากโรงเรียน เนื่องจากอับอายส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของแม่วัยรุ่นในอนาคต จากปัญหาดังกล่าวทุกภาคส่วนในสังคมควรตระหนัก และช่วยกันเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่มีสุขภาพและสุขภาวะที่ดีทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย สังคม จิตใจหรืออารมณ์ และปัญญา และเพื่อสอดคล้องกับยุทศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนงานที่ 2 : การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ และธรรมนูญสุขภาพตำบลนาพู่ พ.ศ.2557 (ฉบับที่ 1 )หมวดที่ 3 และหมวดที่ 4 ด้านควบคุมความรุนแรงในครอบครัว รณรงค์ป้องกันปัญหายาเสพติในตำบลและการท้องก่อนวัยอันควรของวัยรุ่นในเขตตำบลนาพู่ พันธะกิจที่ 6 องค์การบริหารส่วนตำบลนาพู่ ส่งเสริมสุขภาพอนามัยให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น การพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพอนามัยดังนั้น การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเองและป้องกันตัวเองจาก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันก่อนวัยอันควร ด้วยเหตุนี้ สถานีอนามัยนาพู่และรพ.สต.บ้านหลวง จึงได้จัดทำโครงการครอบครัวอบอุ่นป้องกันท้องก่อนวัย โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ขึ้น โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาพู่ เพื่อพัฒนาให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการคิด มีการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเพื่อน เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ฝึกให้เยาวชนได้คิดถึงปัญหาสุขภาพปัญหาทางเพศ การแก้ไขและการป้องกันปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้น และการส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัวเพื่อสร้างความรัก ความอบอุ่น และความเข้าใจภายในครอบครัว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจผลกระทบของการท้องก่อนวัย และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  3. เพื่อให้ผู้ปกครอง ได้เข้าใจปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น และร่วมกันหาแนวทางป้องกันและแก้ไขอย่างเข้าใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. • จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเป้าหมาย - ให้ความรู้เรื่อง ปัญหาและผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร - ให้ความรู้เรื่องเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย และวิธีการคุมกำเนิด - แบ่งกลุ่มย่อยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภายใต้กรอบแนวคิด “วัยรุ่น” ครอบครัว ชุมชน ช่วยแก้ไขปัญหาท้อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. วัยรุ่นและคราอบครัว มีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงปัญหาและมีทักษะในการแก้ปัญหามากกว่าร้อยละ 80
  2. ผลการท้องก่อนวัยของวัยรุ่นมีอัตราลดลง และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีอัตราลดลง
  3. มีแกนนำครอบครัวอบอุ่นต้นแบบของชุมชนในการป้องกันท้องก่อนวัย และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น(อายุน้อยกว่า 20 ปี) (คน)
5.00 0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจผลกระทบของการท้องก่อนวัย และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นและคราอบครัว มีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงปัญหาและมีทักษะในการแก้ปัญหามากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครอง ได้เข้าใจปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น และร่วมกันหาแนวทางป้องกันและแก้ไขอย่างเข้าใจ
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นและคราอบครัว มีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงปัญหาและมีทักษะในการแก้ปัญหามากกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจผลกระทบของการท้องก่อนวัย และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง ได้เข้าใจปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น และร่วมกันหาแนวทางป้องกันและแก้ไขอย่างเข้าใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) • จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเป้าหมาย - ให้ความรู้เรื่อง ปัญหาและผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร - ให้ความรู้เรื่องเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย และวิธีการคุมกำเนิด - แบ่งกลุ่มย่อยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภายใต้กรอบแนวคิด “วัยรุ่น” ครอบครัว ชุมชน ช่วยแก้ไขปัญหาท้อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการครอบครัวอบอุ่นป้องกันท้องก่อนวัย โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จังหวัด อุดรธานี

รหัสโครงการ 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สภาเด็กและเยาวชนตำบลนาพู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด