กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง


“ โครงการปันยิ้มสร้างสุขแข็งแรงในวัยสูงอายุ ”

พื้นที่ในเขตคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

หัวหน้าโครงการ
นายณรงค์ศักดิ์ บำรุงถิ่น

ชื่อโครงการ โครงการปันยิ้มสร้างสุขแข็งแรงในวัยสูงอายุ

ที่อยู่ พื้นที่ในเขตคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปันยิ้มสร้างสุขแข็งแรงในวัยสูงอายุ จังหวัดนครราชสีมา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ในเขตคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปันยิ้มสร้างสุขแข็งแรงในวัยสูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปันยิ้มสร้างสุขแข็งแรงในวัยสูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ในเขตคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันผู้สูงอายุเป็นพลวัตสำคัญที่ส่งผลกระทบในวงกว้างทั้งต่อสังคมโลกและประเทศไทยโดยเฉพาะประเทศไทยก้าวได้เข้าสู่สังคมผู้สูงวัยตั้งแต่ปี 2548 ขณะที่สัดส่วนประชากรผู้สูงวัยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องส่งผลให้ปี 2562 ประชากรผู้สูงวัยมีมากกว่าประชากรวัยเด็กสะท้อนได้จากตัวเลขของกรมกิจการผู้สูงอายุกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2562 พบว่าประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด 44.6 ล้านคนเฉพาะผู้สูงอายุ 10,670,000 คนหรือร้อยละ 16.06 โดยจังหวัดที่มีประชากรผู้สูงอายุมากที่สุดคือกรุงเทพฯมากกว่า 9 ล้านคน (ร้อยละ 17.58) รองลงมานครราชสีมาเขียงใหม่ขอนแก่นและอุบลราชธานีขณะที่สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคาดการณ์ว่าปี 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์เป็นประเทศที่สองของอาเซียนรองจากสิงคโปร์โดยประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจะมีจำนวนไม่น้อยกว่า 13 ล้านคนหรือร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศทั้งหมดและในอีก 20 ปีข้างหน้านั้นในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงวัยเป็นจำนวน 20 ล้านคนหรือ 1 ใน 3 ของคนไทยจะเป็นผู้สูงวัยและผู้สูงวัยอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไปจะมีมากถึง 3,500,000 คนเห็นได้ว่าแนวโน้มของประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งจังหวัดนครราชสีมามีผู้สูงอายุมากเป็นลำดับที่ 2 ของประเทศมีประชากรผู้สูงอายุ 453,388 คนคิดเป็นร้อยละ 17.12 โดยผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่เพียบพร้อมไปด้วยความรู้และประสบการณ์เป็นผู้ถึงพร้อมทั้งคุณวุฒิและวัยวุฒิเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าแม้ผู้สูงอายุจะเข้าสู่วันที่ร่างกายอ่อนแอเสื่อมถอยแล้ว แต่ท่านก็ยังพร้อมและสามารถที่จะช่วยเหลือครอบครัวได้เช่นช่วยดูแลบุตรหลานขณะที่พ่อแม่ออกไปทำงานช่วยดูแลบ้านเรือนผู้สูงอายุบางท่านยังช่วยหุงหาอาหารต่างๆช่วยทำงานเล็ก ๆ น้อย ๆ ตามกำลังของท่านได้นอกจากนั้นยังช่วยให้คำแนะนำปรึกษาในด้านการใช้ชีวิตปัญหาทางด้านต่างๆที่ท่านได้สั่งสมมาจากประสบการณ์ที่ผ่านมาในชีวิตเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจให้กับคนครอบครัวรวมถึงเป็นที่เคารพของคนในชุมชนดังนั้นคลินิกหมอครอบครัวหนองกะจะมีประชากรในความดูแลที่เป็นผู้สูงอายุร้อยละ 18 จึงได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพผู้สูงอายุรวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆด้านดังที่กล่าวมาข้างต้นจึงได้จัดทำโครงการ“ ปันยิ้มสร้างสุขแข็งแรงในวัยสูงอายุ” และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชนโดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของครอบครัวชุมชนให้ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและคุณค่าของผู้สูงอายุทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพห่างไกลโรคภัยและมีคุณค่าในตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค้นหาความเสี่ยงคัดกรองในชุมชน
  2. โรงเรียนผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 180
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพ
  2. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลตามความเหมาะสมมีความรู้ ทักษะการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี
  3. ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสม รู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง มีสุขภาพจิตที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ค้นหาความเสี่ยงคัดกรองในชุมชน
80.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 180
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหาความเสี่ยงคัดกรองในชุมชน (2) โรงเรียนผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปันยิ้มสร้างสุขแข็งแรงในวัยสูงอายุ จังหวัด นครราชสีมา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณรงค์ศักดิ์ บำรุงถิ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด