กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19(COVID-19) ระลอก 3 หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งปรือ
รหัสโครงการ L5293-05-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม.หมู่ 4
วันที่อนุมัติ 18 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 13,055.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวยุวดี ชาวสวน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.108,99.807place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 30 ก.ย. 2564 19,870.00
รวมงบประมาณ 19,870.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (19,870.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (13,055.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จาก cluster ทองหล่อ โดยมีผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมาก  และมีการแพร่ระบาดไปยังพื้นที่จังหวัดต่างๆ ทำให้เกิดการการแพร่ระบาดระลอกใหม่ โดยในพื้นที่จังหวัดสตูลได้ตรวจพบผู้ติดเชื้อแล้วจำนวน ๑๗ ราย แล้วนั้น     ในเขตพื้นที่อำเภอทุ่งหว้า มีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงมีความจำเป็นต้องมีการคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยง แต่ยังขาดเครื่องมือในการตรวจคัดกรอง วัสดุอุปกรณ์ ดังนั้น อสม. หมู่ที่ ภ บ้านทุ่งปรือ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) เพื่อควบคุมเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ระลอก 3 ตั้งรับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องการป้องกันตนเอง ร้อยละ 90
0.00
2 เพื่อตรวจคัดกรองโรคและเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของผู้ที่กลับมาจากพื้นที่เสี่ยง
  1. ผู้ที่กลับจากพื้นที่เสี่ยง ได้รับการตรวจคัดกรองทุกราย
0.00
3 เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  1. มีวัสดุอุปกรณ์สำหรับป้องกันโรคแก่กลุ่มเสี่ยงและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องครบ
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  • วางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงาน
      โครงการ
  • จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
  • ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงานโครงการควบคุมเฝ้าระวังโรคโควิด -19 (COVID-19)
        ขั้นตอนการดำเนินงาน
  • จัดชุด/เวรออกตรวจคัดกรอง ตามบ้านที่กลุ่มเสี่ยงเข้ามาพักอาศัย และให้ความรู้แก่ผู้กลับจากพื้นที่เสี่ยง ณาติ คนที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง
  • จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
  • สรุปผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ตรวจคัดกรองผู้ที่กลับมาจากพื้นที่เสี่ยง
  2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้
  3. อสม.มีเครื่องวัดอุณหภูมิเพื่อให้ในการตรวจคัดกรองอย่างเพียงพอ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2564 10:21 น.