กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมกันป้องกันยุงด้วยสมุนไพร
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน หมู่ที่ 9
วันที่อนุมัติ 31 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 33,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมารศรี เอียดเต๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (33,000.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่ใช้สารเคมีในการไล่ยุง
60.00
2 ร้อยละการนำสมุนไพรมาแปรรูปเพื่อใช้ในการป้องกันยุงลาย
40.00
3 ร้อยละการเพิ่มการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ในการไล่ยุง
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดการใช้สารเคมีโดยการหาสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ทดแทนในการไล่ยุง

 

60.00 30.00
2 เพิ่มการแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพร่/รณรงค์การใช้สมุนไพร ใช้ป้องกันยุงจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

 

40.00 70.00
3 เพิ่มการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ในการควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะ

 

50.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 33,000.00 0 0.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ประชาสัมพันธ์โครงการร่วมกันป้องกันยุงด้วยสมุนไพร 0 0.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 อบรมให้ความรู้ สาธิต และฝึกปฏิบัติโครงการร่วมกันป้องกันยุงด้วยสมุนไพร 0 33,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 23 ก.ย. 64 สรุปผลการดำเนินโครงการและประเมินโครงการ 0 0.00 -

1.เขียนโครงการ
2.ประชุมชี้แจงสมาชิก และผู้เข้าร่วมโครงการ ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
3.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
4.ประชาสัมพันธ์โครงการ
5.จัดอบรมให้ความรู้/และสาธิต/ฝึกปฏิบัติ ให้สามารถทำได้จริง
6.สรุปผลการดำเนินโครงการ 7.ประเมินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ทดแทนสารเคมีในการไล่ยุง
2.สามารถแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรใช้ป้องกันยุงจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.สามารถเป็นการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ในงานควบคุมโรค

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2564 15:44 น.