กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตำบลทะเลน้อย ปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ 64-L3319-01-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทะเลน้อย
วันที่อนุมัติ 10 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 พฤษภาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 24,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปัทมพร ทองเกลี้ยง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 2600 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
90.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป
  1. ประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
0.00
2 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส. ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง จากการคัดกรอง
  1. กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
0.00
3 3. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX >=100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  1. กลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานที่ได้จากการคัดกรอง ได้รับการติดตามเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
0.00
4 4. เพื่อให้กลุ่มแฝง/เสี่ยง (SBP=120-139 mmHg หรือ DBP=80-89 mmHg) ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  1. กลุ่มแฝง/เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ที่ได้จากการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 24,700.00 0 0.00
19 พ.ค. 64 - 31 ส.ค. 64 1. คัดกรองโรคเบาหวาน ในประชากรกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป โดยการเจาะโลหิตปลายนิ้วหาระดับน้ำตาล(DTX) และคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โดยวัดความดันโลหิต(BP) 0 24,700.00 -
19 พ.ค. 64 - 31 ส.ค. 64 2. ให้ความรู้เรื่องโรค อาหารและการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ. 2 ส. 0 0.00 -
1 ก.ค. 64 - 31 ส.ค. 64 3. ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX =100-125 mg/dL) หลังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครบ 6 เดือน และติดตามกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน (ค่า DTX >=126 mg/dL) เจาะ FBS ครั้งที่ 1 หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ครบ 1 เดือน และเจาะครั้งที่ 2 หลังเจาะครั้งแรก 1 0 0.00 -
1 ก.ค. 64 - 31 ส.ค. 64 4. ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มแฝง/เสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง (SBP=120-139 mmHg หรือ DBP=80-89 mmHg) หลังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดย อสม.ที่รับผิดชอบครัวเรือน โดยจัดทำแผนปฏิบัติงานของ อสม.เชิงรุก “ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มแฝง/เสี่ยงโรคค 0 0.00 -

๑. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ๒. จัดทำแผนงานโครงการ/ขออนุมัติโครงการ/จัดซื้อวัสดุการแพทย์ ๓. ชี้แจงให้ อสม.ทราบขั้นตอนการคัดกรอง และนัดกลุ่มเป้าหมาย 4. ออกดำเนินงานคัดกรองตามแผนที่กำหนดไว้ 5. รวบรวมข้อมูล ลงบันทึกผลการปฏิบัติงานในโปรแกรม JHCIS 6. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มจากการคัดกรอง 7. ติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dl)มารับการเจาะ FBS 8. ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยรายใหม่ จ่ายยารักษา ตาม CPG หลังติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำแล้วยังมีค่าความดันฯตัวบนมากกว่า 140 และ/หรือ ตัวล่างมากกว่า 90 มม.ปรอท, และค่าน้ำตาลจากหลอดเลือดดำ (FBS) มากกว่า 125 มก.เปอร์เซ็นต์ 9. รวบรวมข้อมูล/บันทึกผลงาน 10.สรุปและรายงานผลการดำเนินการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงร้อยละ 90
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้ ร้อยละ 60
  3. อัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่ไม่เกิน ร้อยละ 2.4
  4. กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  5. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX >=100 mg/dL) ได้รับการเจาะ FBS ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60
  6. ผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับความเสี่ยง CVD risk ลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ค. 2564 00:00 น.