กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกแบบมีส่วนร่วม ตำบลมีชัย ปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีชัย
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5363 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่ออัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง> ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง

0.00
2 2. เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน ค่า HI ไม่เกินร้อยละ 10

ดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (ค่า HI) ไม่เกินร้อยละ 10

0.00
3 3. เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียน วัด หน่วยงานสาธารณสุขของรัฐ มีค่า CI = 0

ดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียน วัด หน่วยงานสาธารณสุขของรัฐ มีค่า CI = 0

0.00
4 4. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ในป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยชุมชม

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 13,800.00 0 0.00
1 ม.ค. 64 - 31 ก.ค. 64 รณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 0 13,800.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ20 ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง5 ปี 2.ไม่มีผู้ป่วยป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก 3.ดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (ค่า HI) ไม่เกินร้อยละ 10
4.ดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน วัด และหน่วยงานสาธารณสุขของรัฐ มีค่าCI เท่ากับ0 5.ประชาชนตระหนักและพึ่งพาตนเองมากขึ้นในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก 6.ชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2564 10:18 น.