กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา


“ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง - เบาหวาน รพ.สต.คูหา ปี 2564 ”

ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางหฤทัย อาหวัง

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง - เบาหวาน รพ.สต.คูหา ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 17/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง - เบาหวาน รพ.สต.คูหา ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง - เบาหวาน รพ.สต.คูหา ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง - เบาหวาน รพ.สต.คูหา ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เร่งด่วนของประชาชนที่ต้องได้รับการแก้ไขนอกจากโรคติดต่อแล้ว กลุ่มโรคไม่ติดต่อก็เป็นสาเหตุสำคัญของการตายและความพิการ ทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลงและก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเส้นเลือดสมอง อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือดโรคเบาหวานและโรคมะเร็ง เป็นต้น การค้นหาและการตรวจสุขภาพของประชาชนตามกลุ่มอายุ ตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยสูงอายุเป็นภารกิจที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี สามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพมากขึ้นสำหรับการตรวจสุขภาพในกลุ่มวัยทำงานและวัยสูงอายุเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่อาทิ เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการทำงาน พฤติกรรมการสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์รวมถึงภาวะเครียด จากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปในปี 2564 เป้าหมายในการคัดกรอง จำนวน2,257คน พบผู้มีภาวะเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 531 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.52 ในกลุ่มประชากรที่มีภาวะเสี่ยงสูง ถ้าไม่ได้รับการดูแล หรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม อาจพัฒนาเป็นโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานได้ในอนาคต อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ทำให้เป็นภาระต่อสังคม เศรษฐกิจ และครอบครัวที่ต้องทำหน้าที่ดูแล ส่วนในพฤติกรรมสุขภาพ เช่น มีน้ำหนักตัวมาก สูบบุหรี่จัด ขาดการออกกำลังกาย มีระดับไขมันในเลือดสูง และมีความเครียดก็มีผลทำให้ภาวะความดันโลหิตสูงเช่นกัน การแสดงอาการจากความดันโลหิตในกลุ่มเสี่ยง จะค่อยสูงขึ้นและร่างกายก็ค่อยๆ ปรับตัวให้เข้ากับภาวะความดันโลหิตที่สูงขึ้น ส่วนใหญ่มักจะไม่แสดงอาการใดๆ ดังนั้นผู้ป่วยจึงไม่ค่อยทราบหากไม่ได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต ยกเว้นในรายที่มีการสูงมาก อาจมีอาการปวดตึงท้ายทอยหรือปวดศีรษะรุนแรง เนื่องจากคนที่มีภาวะความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ส่วนใหญ่มักไม่ค่อยรู้ตัว ดังนั้นโอกาจะเกิดโรคแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูงและเบาหวานก็มีมากตามไปด้วย โดยทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนเป็นอันตรายต่อหัวใจ ไต ตา และสมอง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิต ดังนั้น จึงเปรียบภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ว่าเป็น "ภัยเงียบ" หรือ "ฆาตรกรเงียบ" นั่นเองด้วยความตระหนักถึงปัญหาและภัยของภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวานความดัน รพ.สต.คูหา ปีงบประมาณ 2564 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ปี2564 ให้มีสุขภาพที่ดี มีความรู้ในการดูแลตนเอง ลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และภาวะแทรกซ้อน และการสูญเสียของประชากรกลุ่มเสี่ยง โดยขอความร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลคูหา ในการขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อความครอบคลุมในการจัดโครงการในครั้งนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงหรือสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (DM/HT) ที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส.
  2. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยและส่งเสริมให้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิต
  3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  4. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่นยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงและวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
  2. คัดกรองประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไปในเขครับผิดชอบ
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยง และ คัดกรองสุขภาพ ซักประวัติ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว วัดความดันโลหิต
  4. จัดกิจกรรมกลุ่มในคลินิก
  5. จัดตั้งกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 250
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. ผู้ป่วยรายใหม่ที่ตรวจคัดกรองพบ ได้รับการรักษา ลดความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรค
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงหรือสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (DM/HT) ที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส มีความรู้ สามารถดูแลตนเองได้
  4. ผู้ป่วยรายใหม่ที่ตรวจคัดกรองพบ ได้รับการรักษา ลดความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงหรือสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (DM/HT) ที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงหรือสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (DM/HT) สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยและส่งเสริมให้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิต
ตัวชี้วัด : เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยและส่งเสริมให้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
0.00

 

4 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่นยืน
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานและภาวะแทรกซ้อนได้และมีความยั่งยืน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 250
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงหรือสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (DM/HT) ที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. (2) เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยและส่งเสริมให้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิต (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (4) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่นยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงและวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง (2) คัดกรองประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไปในเขครับผิดชอบ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง    ในกลุ่มเสี่ยง และ  คัดกรองสุขภาพ ซักประวัติ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว วัดความดันโลหิต (4) จัดกิจกรรมกลุ่มในคลินิก (5) จัดตั้งกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง - เบาหวาน รพ.สต.คูหา ปี 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหฤทัย อาหวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด