กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจและคัดกรองความผิดปกติหรือความบกพร่องทางการได้ยินของกลุ่มเสี่ยง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขฯเทศบาลเมืองปากช่อง
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 31 พฤษภาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 มิถุนายน 2564
งบประมาณ 43,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฐิรภัทร โฉมงาม
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวประภาพร ประเสสัง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
ละติจูด-ลองจิจูด 14.679799,397479place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันด้วยความเจริญทางเทคโนโลยีก้าวหน้าสามารถตรวจคัดกรองได้ตั้งแต่ทารกแรกเกิดและหากว่าสงสัยว่าหูหนวกหรือหูตึงควรตรวจยืนยันภายในเวลา 6 เดือนแรกจะทำให้การรักษาและฟื้นฟูบำบัดโดยใช้เครื่องช่วยการได้ยินและสอนพูดได้ทันเวลาเพื่อไม่ให้อาการหูตึงหูหนวกเป็นเหตุให้ไม่สามารถพูดได้หรือเป็นใบ้ในที่สุดหากพบแพทย์ช้าการฟื้นฟูจะเป็นไปได้ยากในวัยทํางานการทำงานแต่ละวันของผู้ปฏิบัติงานนั้นจะต้องสัมผัสกับเสียงที่ระดับต่างๆกันซึ่งผลเสียที่เกิดขึ้นโดยตรงต่อหูคือจะทำให้สูญเสียสมรรถภาพการได้ยินไปชั่วขณะหรืออาจสูญเสียการได้ยินแบบถาวรหากได้รับเสียงที่มีความตั้งติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ การสูญเสียการได้ยินเป็นลักษณะอาการที่ทำให้ความสามารถในการได้ยินเสียงลดลงเมื่อเทียบกับหูของคนปกตินอกจากนี้ยังมีผลต่อร่างกายและจิตใจคือทำให้เกิดความเครียดซึ่งจะส่งผลทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลงและอาจทำให้ได้ผลผลิตที่ไม่มีคุณภาพด้วยในผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมักถูกเรียกว่าผู้สูงอายุและถูกจัดเข้ากลุ่ม“ วัยเสื่อมเมื่อเกิดอาการหูอื้อหูตึงเวียนศีรษะก็มักจะถูกละเลยคิดว่าเสื่อมจากวัยไม่อาจแก้ไขให้คืนดีได้คิดว่าเป็นเรื่องธรรมดาที่จะต้องยอมรับโดยมิได้มีความเข้าใจเรื่องการเสียการได้ยินและโดยเฉพาะการเสียทรงตัวในผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องขับซ้อนที่อาจมีหลายเหตุปัจจัยที่เป็นอันตรายและอาจป้องกันได้อาจแก้ไขให้ฟื้นคืนดีได้ในฐานะที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมมีบทบาทหน้าที่ในการดูแลภาวะสุขภาพของประชาชนขอทุกกลุ่มวัยในพื้นที่จึงได้จัดทำโครงการตรวจและคัดกรองความผิดปกติหรือความบกพร่องทางการได้ยินของกลุ่มวัยประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้นเพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงส่งผลให้ได้รับการวินิจฉัยและรักอย่างรวดเร็ว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีการใช้การได้ยินอย่างถูกวิธีหลีกยที่มีผลต่อการเกิดการได้ยิน
2 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไม่มีอุปสรรคด้านการใช้ชีวิตประจําวันจากข้อ จำกัด การได้ยินหรือปัญหาจากการได้ยิน
3) ประธาชนกลุ่มเสี่ยงตระหนักในภาวะสุขภาพและเฝ้าระวังอาการผิดปกติของร่างกาย
4) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับหนังสือรับรองความพิการหากพบว่าการได้ยินมีความผิดปกติผู้พิการจะได้รับการส่งต่อไปสหวิชาชีพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ค. 2564 13:54 น.