กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเฝ้าระวังเพื่อลดอันตราจากการใช้สารเคมีกำจัดศรัตรูพืชในเกษตรกรตำบลชุมภูพร อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ ปีงบประมาณ 2563

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเฝ้าระวังเพื่อลดอันตราจากการใช้สารเคมีกำจัดศรัตรูพืชในเกษตรกรตำบลชุมภูพร อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมภูพร
วันที่อนุมัติ 10 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 13,625.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรัชดาภรณ์ ยาฟอง
พี่เลี้ยงโครงการ นายณรงค์วิทย์ ขุนพิจารย์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชุมภูพร อำเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2563 30 ก.ย. 2563 13,625.00
รวมงบประมาณ 13,625.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ตำบลชุมภูพร เป็นตำบลที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำนาปี ทำไร่ ทำสวนยางพารา ซึ่งมีการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช โดยผลกระทบจากการใช้สารเคมีอาจจะส่งผลกับสุขภาพได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การใช้สารเคมีที่ไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ การสัมผัสสารเคมีตกค้างจากอาหาร หรือสิ่งแวดล้อมตามห้วย หนอง-คลอง-บึง เป็นต้น จากผลการตรวจเลือดเพื่อค้นหาสารเคมีตกค้างในเกษตรกรพื้นที่ตำบลชุมภูพร ในปี ๒๕๖2 จำนวน 1,300 ราย ผลการตรวจพบว่า ปกติ ร้อยละ ๑2.๓ ,ปลอดภัย ร้อยละ ๓๘ ,เสี่ยงร้อยละ๓๘.๘ ,ไม่ปลอดภัย ร้อยละ ๔  แสดงให้เห็นว่า เกษตรกรในพื้นที่ตำบลชุมภูพร ร้อยละ ๔๒.๙ มีสารเคมีตกค้างอยู่ในกระแสเลือดซึ่งเป็นปัจจัยที่จะนำไปเป็นสาเหตุของโรคในอนาคต ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมภูพร จึงเล็งเห็นความสำคัญในการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเกษตรกรตำบลชุมภูพร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖3ต่อเนื่องเพื่อเฝ้าระวังโรคจากการใช้สารเคมี และประเมินสารเคมีที่ตกค้างในเลือดเกษตรกร วิเคราะห์ข้อมูลคืนสู่ชุมชนและเป็นฐานข้อมูลในการวางแผนปฏิบัติงานต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีและประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมี

๑.เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีและประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมี ร้อยละ ๑๐๐

100.00
2 ๒.เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีและประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างถูกต้องและปลอดภัย

๒เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีและประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างถูกต้องและปลอดภัย ร้อยละ ๑๐๐

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 70 13,625.00 1 13,625.00
14 ส.ค. 63 กิจกรรมอบรมเกษตรกรผู้ใช้สารเคมีและประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการใช้สารเคมีในเกษตรกรอย่างถูกต้องและปลอดภัย 70 13,625.00 13,625.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เกษตรกรในพื้นที่ มีความรู้เรื่องพิษภัยของสารเคมีจากการประกอบอาชีพอันเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคในระยะยาว เพื่อจะได้หาวิธีป้องกันตนเองอย่างเคร่งครัดเมื่อปฏิบัติงานเป็นผู้สัมผัสหรือเกี่ยวข้องกับสารเคมี       2. เกษตรกรในพื้นมีความรู้เรื่องพิษภัยของสารเคมีจากการประกอบอาชีพอันเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคในระยะยาว เพื่อจะได้หาวิธีป้องกันตนเองอย่างเคร่งครัดเมื่อปฏิบัติงานเป็นผู้สัมผัสหรือเกี่ยวข้องกับสารเคมี   3. เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 พ.ค. 2564 11:38 น.