กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง


“ โครงการ อสม.ตำบลกาบัง เฝ้าระวังโรคโควิด-19 ระลอก 3 ”

ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมหมัดยากี เจ๊ะดู

ชื่อโครงการ โครงการ อสม.ตำบลกาบัง เฝ้าระวังโรคโควิด-19 ระลอก 3

ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 043/2564 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.ตำบลกาบัง เฝ้าระวังโรคโควิด-19 ระลอก 3 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.ตำบลกาบัง เฝ้าระวังโรคโควิด-19 ระลอก 3



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.ตำบลกาบัง เฝ้าระวังโรคโควิด-19 ระลอก 3 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 043/2564 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 84,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเผชิญการระบาดโควิด-19 ระลอก 3 กระจายออกไปครบทุกจังหวัดอย่างหนักหน่วงกว่าที่เคยเจอมา โดยผู้ติดเชื้อครอบคลุมทุกเพศทุกวัยสูงขึ้นทวีคูณ
สาเหตุเป็นเช่นนี้เชื่อว่า เป็นการระบาดเชื้อไวรัสสายพันธุ์อังกฤษ สามารถกระจายได้เร็วมากยิ่งกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิม ทั้งประชาชนเขตเมือง ก็เคลื่อนย้ายออกจากบ้านท่องเที่ยว พบปะสังสรรค์ไปมาหาสู่ทำธุระเสมือนปกติอยู่มากมายอันเกิดจากมาตรการผ่อนปรนให้ประชาชนใช้ชีวิตสะดวกยิ่งขึ้น แต่ไม่อาจกำกับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันอย่างเคร่งครัด ทั้งควบคุมผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงสูงไม่ได้ จนเข้าปะปนสัมผัสกลุ่มเสี่ยงต่ำ กว่าจะรู้ตัวติดเชื้อก็ลุกลามออกไป เป็นวงกว้างมากแล้ว กลายเป็นการติดเชื้อจากการใช้ชีวิตประจำวัน นำเชื้อโรคเข้าสู่คนในครอบครัว ทำให้มีผู้ติดเชื้อพุ่งสูงหลักพันคนต่อวัน ด้วยสถานการณ์ของโรคโควิด-19 ทำให้เกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการหลายประเภทต้องปิดกิจการ ประชาชนตกงานจำนวนมาก ซึ่งบางส่วนทยอยเดินทางกลับภูมิลำเนาของตนเอง โดยที่อาจจะไม่ทราบว่าตนติดเชื้อโรค โควิด-19 ทำให้ครอบครัว ผู้สัมผัสใกล้ชิด ได้รับเชื้อไปด้วย ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลกาบัง จึงจัดทำโครงการ อสม.ตำบลกาบัง เฝ้าระวังโรคโควิด-19ระลอก 3 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานสถานที่เพื่อสังเกตอาการให้ผู้ที่เดินทางมาจากนอกพื้นที่ ได้กักตัวก่อนกลับสู่ครอบครัวและชุมชน ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ โดยการร่วมมือกันของหน่วยงานรัฐ ผู้นำชุมชน ประชาชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
  2. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
  3. เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น
  4. เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนที่สามารถเข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19 ได้เพิ่มขึ้น
  5. เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การตรวจคัดกรอง และกักตัวผู้ที่มาจากนอกพื้นที่เพื่อสังเกตอาการ
  2. กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid 19)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
บุคคลกลุ่มเสี่ยง 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

บุคคลที่เดินทางมาจากนอกพื้นที่ ได้รับการกักตัวเพื่อสังเกตอาการ
สามารถป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(covid 19) ในพื้นที่ตำบลกาบังได้ ประชาชนมีความรู้ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(covid 19)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
70.00 80.00

 

2 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
70.00 60.00

 

3 เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19
70.00 80.00

 

4 เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนที่สามารถเข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19 ได้เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนในชุมชนที่เข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19 ได้เพิ่มขึ้น
60.00 70.00

 

5 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
10.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
บุคคลกลุ่มเสี่ยง 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง (2) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน (3) เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น (4) เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนที่สามารถเข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19 ได้เพิ่มขึ้น (5) เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การตรวจคัดกรอง และกักตัวผู้ที่มาจากนอกพื้นที่เพื่อสังเกตอาการ (2) กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid 19)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม.ตำบลกาบัง เฝ้าระวังโรคโควิด-19 ระลอก 3 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 043/2564

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮัมหมัดยากี เจ๊ะดู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด