กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด


“ อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจรัสศรี เจะอุมง

ชื่อโครงการ อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5258-1-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5258-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)   โรคไข้เลือดออกถือได้ว่าเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งความรุนแรงของโรคสามารถทำให้ผู้ป่วย เสียชีวิตได้ แม้จะมีการรณรงค์ ให้มีการป้องกัน ควบคุม ไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคของภาครัฐและเอกชน อยู่เป็นประจำ แต่ก็ไม่สามารถทำให้โรคนี้หมดไปจากสังคมไทยของเราได้เลย การรณรงค์ให้ประชาชนร่วมกัน กำจัดยุงลายโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคได้ ไม่ว่า จะเป็นการทำลายภาชนะที่มีน้ำขัง การใส่ทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำ หรือการพ่นหมอกควัน   ด้วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนากัน ซึ่งดูแลสุขภาพอนามัยประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 3,4,6 และ 7 ตำบลบ้านโหนด ได้รับแจ้งข่าวจากทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ว่ามีผู้ป่วยไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในปีที่ 3 หลังจากการระบาดโรคไข้เลือดออกจะกลับมาระบายอีกครั้ง ในเดือนธันวาคม 2563 เป็นต้นมา พบว่า มีประชาชนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนากัน กลุ่มสงสัยจำนวน 46 ราย ยืนยันวินิจฉัยเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 26 ราย ระบาดต่อเนื่อง เพื่อเป็นการการป้องกัน ดูแลไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคเพิ่มมากยิ่งขึ้น ซึ่งในปัจจุบันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาล จึงจำเป็นต้องมีการเริ่มดำเนินการให้รวดเร็ว ให้ทันต่อสภาวการณ์แพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยปีงบประมาณ 2564 ได้มีผู้เจ็บป่วยที่เกิดจากยุงลาย เจ็บป่วยด้วยโรคซิก้า จำนวน 1 รายซึ่งมีผลกระทบกับทารกในครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์   เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนากัน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องนี้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาโดยการออกพ่นหมอกควันครอบคลุมในพื้นที่ที่อยู่ในการดูแลทั้งหมด เพื่อเป็นการกำจัดยุงลายไม่ให้ สามารถไปแพร่เชื้อหรือขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก ซึ่งเป็นวิธีการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. จัดประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนากัน เพื่อวางแผนในการดำเนินงานและเสนอโครงการเพื่อของบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด 2. รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนประชากรและที่พักอาศัยในพื้นที่ วางแผนและออกแบบกิจกรรมดำเนินงาน 3. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 3.1 ชี้แจงโครงการ ฯ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โดยไวนิล และแผ่นพับ ใบปลิว ในเรื่องการการพ่นหมอกควันและการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก 3.2 จัดซื้อทรายอะเบท น้ำยาเคมีพ่นหมอกควัน น้ำมันเชื้อเพลิง 3.3 ลงพื้นที่พ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย พร้อมทั้งรณรงค์สร้างกระแสการป้องกันไข้เลือดออก 3.4 รณรงค์ไข้เลือดออก
3.5 สำรวจค่า HI CI ในชุมชน ก่อน/หลัง การพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย 4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ฯ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อกำจัดยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก
  2. ข้อที่ 2 เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1 รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ในชุมชน หมู่ที่ 3,4,6,7
  2. 1.2 พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน โรงเรียน วัด มัสยิด หมู่ที่ 3,4,6,7

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ 2. สามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ลดการเพิ่มจำนวนประชากรลูกน้ำยุงลายในชุมชนได้ 3. ประชาชนมีความเข้าใจเกิดความร่วมมือในวิธีการพ่นหมอกควันเพื่อควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อกำจัดยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก
ตัวชี้วัด : สำรวจค่า HI CI ในชุมชนลดลง มีค่าไม่เกิน 10
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 80
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อกำจัดยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก (2) ข้อที่ 2 เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ในชุมชน  หมู่ที่ 3,4,6,7 (2) 1.2 พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน โรงเรียน วัด มัสยิด    หมู่ที่ 3,4,6,7

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5258-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจรัสศรี เจะอุมง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด