กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา


“ เด็กน้อยฟันดี มีพัฒนาการสมวัย ใส่ใจฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ ”

ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางรูวัยดาอุเซ็งลานุง

ชื่อโครงการ เด็กน้อยฟันดี มีพัฒนาการสมวัย ใส่ใจฉีดวัคซีนตามเกณฑ์

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L8278-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 สิงหาคม 2560 ถึง 13 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"เด็กน้อยฟันดี มีพัฒนาการสมวัย ใส่ใจฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เด็กน้อยฟันดี มีพัฒนาการสมวัย ใส่ใจฉีดวัคซีนตามเกณฑ์



บทคัดย่อ

โครงการ " เด็กน้อยฟันดี มีพัฒนาการสมวัย ใส่ใจฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L8278-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 สิงหาคม 2560 - 13 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในเด็กแรกเกิดถึงช่วง อายุ 5 ปีเป็นช่วงระยะเวลาที่เด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมาก เป็นช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจ ของมนุษย์ นอกจากร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างเร็วแล้ว สมองของเด็กก็เจริญเติบโตสูงสุดในช่วงวัยนี้ด้วย สำหรับสถานการณ์ส่งเสริมสุขภาพเด็ก0 – 5 ปี พบว่า มีปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 9.0ใน พ.ศ. 2556 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ไม่เกินร้อยละ 7 การขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดพบ 25.6 ต่อเด็กเกิดมีชีพพันคน ใน พ .ศ. 2555 การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างเดียว พบร้อยละ 47.5 ในพ.ศ. 2555 รวมทั้งปัญหาพัฒนาการของเด็ก พบว่า เด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) มีพัฒนาการปกติลดลงจาก ร้อยละ 71.7ในพ.ศ.2542 เป็นร้อยละ 70.3 ใน พ.ศ. 2555 (ยุทธศาสตร์ตัวชี้วัดและแนวทางการจัดเก็บข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข ปี 2559) และสถานการณ์ของพัฒนาการเด็กไทย ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา พัฒนาการเด็กสมวัย ประมาณร้อยละ 70 (สำรวจโดยกรมอนามัย) และ IQ เด็กไทยไม่ถึงร้อย (สำรวจโดยกรมสุขภาพจิต) นอกจากนั้นปัญหาทุพโภชนาการ ทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านที่มากเกินไป ได้แก่ เด็กอ้วน และที่น้อยเกินไป คือ เด็กผอม เด็กเตี้ย รวมถึง เด็ก 3 ขวบฟันน้ำนมผุ เท่ากับร้อยละ 45ซึ่งปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มเด็ก 0 – 5 ปี ที่จะต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ต้องอาศัยความร่วมมือและการประสานงานจากทุกฝ่ายทั้งครอบครัว ชุมชน และโรงเรียน จากการดำเนินงานงานการส่งเสริมสุขภาพของเด็กกลุ่มอายุ 0- 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน บือซู ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ในรอบปีที่ผ่านมา กลุ่มเด็ก 0-5 ปี มีปัญหาด้านสุขภาพช่องปาก พบ กลุ่มเด็กอายุ 0-5ปีมีฟันผุ จำนวน 214คน(ร้อยละ...52.19...) มีปัญหาด้านพัฒนาการล่าช้าจำนวน2 คน(ร้อยละ...1.03......) และสงสัยล่าช้า จำนวน 12 คน (ร้อยละ......6.21....) ด้านภาวะโภชนาการ พบเด็กอ้วนจำนวน 2คน (ร้อยละ...0.48....) พบผอมจำนวน 4คน(ร้อยละ...0.97.....)เด็กเตี้ย จำนวน 24คน (ร้อยละ..5.81...)และได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ จำนวน 78 คน (ร้อยละ…44.32… )ซึ่งปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี และอาจส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านร่างกายและสติปัญญาของเด็กไทยในอนาคตต่อไป ดังนั้น เพื่อให้การการดำเนินงานการส่งเสริมสุขภาพของเด็ก 0 – 5ปี มีกิจกรรมที่สามารถร่วมส่งเสริมการดูแลสุขภาพของเด็กกลุ่มนี้ได้ครบถ้วนและสามารถบูรณาการดูแลด้านต่างๆ ร่วมกัน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือซู ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จึงได้จัดทำโครงการเด็กน้อยฟันดี มีพัฒนาการสมวัย ใส่ใจฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อเป็นการส่งเสริมและแก้ปัญหาด้านสุขภาพของเด็กอายุ 0 – 5ปีในพื้นที่ให้สามารถเป็นเด็กที่มีสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีการดูแลภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-5ปี
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็ก 0 – 5 ปี
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองพาบุตรหลานรับวัคซีนในกลุ่มเด็ก 0-5 ปี ตามเกณฑ์
  4. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก 0 – 5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 310
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ปกครองมีการดูแลภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-5ปี 2.ผู้ปกครองมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็ก 0 – 5 ปี 3.ผู้ปกครองพาบุตรหลานรับวัคซีนในกลุ่มเด็ก 0-5 ปี ตามเกณฑ์ 4.ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก 0 – 5 ปี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีการดูแลภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-5ปี
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็ก 0 – 5 ปี
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองพาบุตรหลานรับวัคซีนในกลุ่มเด็ก 0-5 ปี ตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก 0 – 5 ปี
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 310
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 310
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีการดูแลภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-5ปี (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็ก 0 – 5 ปี (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองพาบุตรหลานรับวัคซีนในกลุ่มเด็ก 0-5 ปี ตามเกณฑ์ (4) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพเด็ก 0 – 5 ปี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    เด็กน้อยฟันดี มีพัฒนาการสมวัย ใส่ใจฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L8278-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรูวัยดาอุเซ็งลานุง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด