กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรค ร้อยละ 80
80.00 84.50

 

2 2 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : - จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
100.00 100.00

 

3 3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
50.00 55.50

 

4 4 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 ได้ทำ กิจกรรมด้านศาสนาร่วมกัน
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 98
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0 2
กลุ่มวัยทำงาน 0 26
กลุ่มผู้สูงอายุ 0 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง (2) 2 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล (3) 3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (4) 4 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่  1.ประชุมคณะทำงานชี้แจงโครงการจำนวน มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน จำนวน 2 ครั้ง
2. ประชุมทบทวน/พิจารณาจัดทำหลักสูตรการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การดูแลตนเองป้องกันในการหกล้ม การดูแลในการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ และการดูแลสุขภาพจิตใจของผู้สูงอายุ จำนวน 1 ครั้ง 3. ารจัดกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ มี ผู้ศุงอายุเข้าร่งมประชุม เฉลีย ครั้งละ 70 - คน จำนวน 14 ครั้ง โดยมีการเรียนการสอน ในเรื่องดังต่อไปนี้ - การดูแลตนเองป้องกันในการหกล้ม
- การดูแลในการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
- การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ - การดูแลสุขภาพจิตใจของผู้สูงอายุ
- กิจกรรมนันทนาการ เช่น รำวง
- กิจกรรมบุญประเพณีตามวันสำคัญ เช่น วันมาฆะบูชาวันสงกรานต์ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา
- จัดทำกลุ่มส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
- การค้นหาภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ
- การปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพ - สิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ - กฏหมายที่ควรรู้ 4.อบรมพัฒนาด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคมแก่แกนนำผู้สูงอายุ ทัศนศึกษา มีผู้สูงอายุ เข้าร่วม จำนวน 55 คน หลักสูตร 3 วัน จำนวน 1 ครั้ง 5. การขยายผลจากกลุ่มผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมโครงการฯและผู้ที่จะเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุในอนาคต ให้มีความพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ เพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมรคุณค่า คุณภาพต่อไป ไปยังชุมชนต่างๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เนื่องจาก มีผู้สูงอายุในตำบล บางรายมีสุขภาพไม่ดี การเดินทางมาร่วมกิจกรรม ไม่สะดวก ดังนั้นควรจัดกิจกรรม กระจายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ หรือจัดหายานพาหนะ ให้ผู้สูงอายุ มาร่วมกิจกรรม

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh