กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคำหมูน
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเยาวะรัตน์ แดงประสาท
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเดื่อศรีคันไชย อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 15,000.00
รวมงบประมาณ 15,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 62 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากธรรมนูญสุขภาพตำบล หมวดที่ ๕ ว่าด้วยเรื่องการป้องกัน และควบคุมโรคและปัจจัยคุกคาม โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญ จากสถิติสามปีย้อนหลังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคำหมูน พบว่า ในปี 2559 พบผู้ป่วย 2 ราย คิดเป็นอัตราการป่วย 59.11 ต่อแสนประชากร ปี 2560 ไม่พบผู้ป่วย ปี2561 พบผู้ป่วย 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 29.9 ต่อแสนประชากร ปี 2562 พบผู้ป่วย 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 119.68 ต่อแสนประชาชก ปี 2563 พบผู้ป่วย 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 137.47 ต่อแสนประชาชกจากสถิติ ดังกล่าว จะพบมีการระบาดของโรคแต่ละครั้ง สูงเกินกว่า ๒๐ ต่อประชากรแสนคนและตำบลเดื่อศรีคันไชยมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปีโดยเ ฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วย เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของ ยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ ควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายในช่วงฤดูการระบาดของโรคเพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคำหมูน จำเป็นต้องมีการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพ ื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนได้แก่ ผู้นำชุมชน อสม. เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกดังกล่าว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดอัตราการป่วยไม่เกิน 50 ต่อ ประชากรแสนคน 2. เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทางกายภาพ
  1. ลดอัตราการป่วยไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
  2. ลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  3. มีทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทางกายภาพ
20.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อลดอัตราการป่วยไม่เกิน 50 ต่อ ประชากรแสนคน 2. เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทางกายภาพ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 พ.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน 15,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

1.การเตรียมการ 1)จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2)ประชุมชี้แจงแผนงานโครงการการดำเนินงานแก่ ผู้นำชุมชน อสม.
2.การดำเนินการ การดำเนินงานระยะก่อนเกิดโรค 1)อบรมให้ความรู้แก่อสม. 2)จัดกิจกรรมป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยอสม
- ใส่ทรายอะเบทในภาชนะน้ำใช้ไม่มีฝาปิดทุกภาชนะทุก3 เดือน - สำรวจลูกน้ำยุงลายโดย อสม.ในโซนรับผิดชอบ ทุกหลังคาเรือน ทั้งวัดและโรงเรียน ทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง การดำเนินงานระยะเกิดโรค 1) ออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยภายใน 24 ชั่วโมง 2) ออกควบคุมโรค 2.1) ผู้ป่วย 1 รายในหมู่บ้าน - พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียงรัศมีไม่ต่ำกว่า 100 เมตร - ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงทุกหลังคา-ใส่ทรายอะเบทในภาชนะไม่มีฝาปิด - สำรวจลูกน้ำยุงลายทุก 7 วันทุกหลังคาเรือน - ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายเท่ากับ 0 ทุกประเภท - รณรงค์ให้สุขศึกษาทางหอกระจายข่าว 2.2) ผู้ป่วย 2 รายใน 1 สัปดาห์ในหมู่บ้านเดียวกัน - พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายในบ้านผู้ป่วย,ทั้งหมู่บ้าน
- ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงทุกหลังคาเรือน - ใส่ทรายอะเบทในภาชนะไม่มีฝาปิดทุกภาชนะ,ขัดล้างภาชนะ - สำรวจลูกน้ำยุงลายทุก7 วัน - ค่าดัชนีลูน้ำยุงลายเท่ากับ 0 ทุกประเภท - รณรงค์ให้สุขศึกษาทางหอกระจายข่าว/หน่วยเคลื่อนที่ 3. สอบสวนทางระบาดวิทยาในหมู่บ้านพบผู้ป่วย การดำเนินงานระยะหลังเกิดโรค 1) สรุปสถานการณ์การเกิดโรคตั้งแต่รายแรกถึงปัจจุบัน - สรุปปัญหา - วางแผนแก้ปัญหา 2) สรุปผลการใช้จ่ายวัสดุและค่าใช้จ่ายต่างๆ 3) สรุปผลการปฏิบัติงานเพื่อแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ลดอัตราการป่วยไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
  2. ลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  3. มีทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทางกายภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 พ.ค. 2564 10:39 น.