กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ


“ โครงการรณรงค์ควบคุมโรคและป้องโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายรูสมัน มูเลง

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมโรคและป้องโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4114-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ควบคุมโรคและป้องโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมโรคและป้องโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมโรคและป้องโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเอะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4114-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่ยังคงมีความสำคัญในระดับประเทศ ได้แก่ โรคติดต่อ ซึ่งมีทั้งโรคติดต่อนำโดยแมลง โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ โรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้ำ โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นต้น จากสถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่จังหวัดยะลา ในปี พ.ศ.2555 – 2563 พบว่าโรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่พบการระบาดของโรคตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยจำนวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธ์ของยุงลายที่พาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพต้องเตรียมความพร้อมการควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูกาลระบาดของโรค เพื่อลดจำนวนประชากรของยุงในพื้นที่ ส่วนการติดต่อของโรคไข้มาลาเรีย มียุงก้นปล้องเป็นพาหะนำโรค การระบาดของโรคมาลาเรียเกิดขึ้นได้ในบริเวณแถบชายแดน หรือบริเวณที่เป็นป่าเขา โดยมียุงก้นปล้องที่มีเชื้อในต่อมน้ำลายกัดและปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือดคน ซึงเป็นวิธีธรรมชาติทีพบได้มากที่สุด สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของพื้นที่ตำบลสะเอะในช่วง 5 ปีย้อนหลัง จำนวน 59 ราย ตั้งแต่ปี 2559 – 2563 มีจำนวนผู้ป่วย เท่ากับ 13,7,10,21 และ 8 ราย ตามลำดับ ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต และสถานการณ์โรคไข้มาลาเรียของพื้นที่ตำบลสะเอะในช่วง 5 ปีย้อนหลัง จำนวน 229 ราย ตั้งแต่ปี 2559 – 2563 มีจำนวนผู้ป่วย เท่ากับ 25,22,26,95 และ 61 ราย ตามลำดับ ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต และมีแนวโน้มการะบาดของโรงที่สูงขึ้นเรื่อยๆในทุกๆปี ดังนั้น ชมรมควบคุมโรคเข้มแข้งตำบลสะเอะ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเอะ และองค์การบริหารส่วนตำบลสะเอะ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2564 เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือของโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียก่อนฤดูกาลระบาด เพื่อลดอัตราป่วย และการค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่ เพื่อป้องกันการะบาดของโรคและลดความเสี่ยงของประชาชนในพื้นที่ต่อการเป็นโรคติดต่อ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน 2.เพื่อลดอัตราความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อมารดาและทารกทั้งขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดเพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และสามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพ่นหมอกควันและสารเคมีตกค้าง
  2. จัดประชุมคณะทำงานด้านควบคุมโรคตำบลสะเอะ
  3. การผลิตโลชั่นทากันยุงใช้เอง จำนวน 500 หลอด
  4. กิจกรรมรณรงค์ การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ของยุงก้นปล้อง ในพื้นที่ระบาด
  5. อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียในกลุ่มแกนนำเยาวชน (ยุวมาลาเรีย)
  6. กิจกรรมพ่นหมอกควันในสถานที่ราชการและสถานศึกษาเอกชน
  7. ประชุมคณะทำงานเพื่อทอดบทเรียนและวิเคราะห์สถานการณ์ ทำโปสเตอร์ และแผ่นพับ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
  2. ลดอัตราป่วย ด้วยโรคมาลาเรียลงร้อยละ 20 จากปีที่ผ่านมา
  3. คณะทำงานชมรมควบคุมโรคเข้มแข้งตำบลสะเอะ มีศักยภาพในการควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  4. เกิดเครือข่ายในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลงระดับตำบล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน 2.เพื่อลดอัตราความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อมารดาและทารกทั้งขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดเพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และสามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้
ตัวชี้วัด : 1. เพื่อลดอัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียในพื้นที่ตำบลสะเอะ 2. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพคณะทำงานชมรมควบคุมโรคเข้มแข้งตำบลสะเอะ 3. เพื่อสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน  2.เพื่อลดอัตราความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อมารดาและทารกทั้งขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดเพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และสามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพ่นหมอกควันและสารเคมีตกค้าง (2) จัดประชุมคณะทำงานด้านควบคุมโรคตำบลสะเอะ (3) การผลิตโลชั่นทากันยุงใช้เอง จำนวน 500 หลอด (4) กิจกรรมรณรงค์ การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ของยุงก้นปล้อง ในพื้นที่ระบาด (5) อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรียในกลุ่มแกนนำเยาวชน (ยุวมาลาเรีย) (6) กิจกรรมพ่นหมอกควันในสถานที่ราชการและสถานศึกษาเอกชน (7) ประชุมคณะทำงานเพื่อทอดบทเรียนและวิเคราะห์สถานการณ์ ทำโปสเตอร์ และแผ่นพับ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ควบคุมโรคและป้องโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4114-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรูสมัน มูเลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด