โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร ”
ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายวีระศักดิ์ ณ พัทลุง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร
ที่อยู่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564-L3328-1-๐๓ เลขที่ข้อตกลง .................
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2564-L3328-1-๐๓ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันอุบัติเหตุจากการจราจรก่อให้เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของประชนชนในปีหนึ่งๆ อย่างมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจราจรอันเนื่องมาจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ ซึ่งมีผู้เสียชีวิตบาดเจ็บ และพิการส่วนใหญ่อยู่ในวัยเด็กและเยาวชน อันเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าในการพัฒนาประเทศ แต่ต้องมาเสียชีวิต บาดเจ็บ และพิการก่อนที่จะทำประโยชน์ให้กับประเทศชาติ และจากการวิเคราะห์สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ในประเทศไทย พบว่า สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจราจรคือผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์มีพฤติกรรมการขับขี่ที่ไม่ปลอดภัย มีการเสพสารเสพติด มึนเมา ประมาท คึกคะนอง และไม่เคารพกฎจราจร ประกอบกับสภาพของรถจักรยานยนต์ที่ไม่ปลอดภัย สิ่งเหล่านี้ถือเป็นปัจจัยก่อให้เกิดอุบัติเหตุดังกล่าว การป้องกันก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์เหล่านี้จึงเป็นเรื่องที่สำคัญยิ่ง
ดังนั้น เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกในด้านความปลอดภัยและวินัยจราจร รวมถึงการป้องกันอุบัติเหตุในท้องถนน การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และทักษะในการขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ถูกต้อง ปลอดภัยและการป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนน ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักเรียนและประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง จึงได้จัดโครงการขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจรและการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องสามารถนำไปปฏิบัติขณะใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในท้องถนน และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีจิตสำนึกในด้านความปลอดภัย มีวินัยในการขับขี่รถจักยานยนต์เพิ่มขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านความเสี่ยงลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายจราจร ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ในการที่จะเป็นผู้ขับขี่และผู้ใช้รถใช้ถนนที่ดี และสามารถนำไปปฏิบัติขณะใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจรและการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องสามารถนำไปปฏิบัติขณะใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจรและการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้อง
0.00
2
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในท้องถนน และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในท้องถนน และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น
0.00
3
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีจิตสำนึกในด้านความปลอดภัย มีวินัยในการขับขี่รถจักยานยนต์เพิ่มขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านความเสี่ยงลดลง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีจิตสำนึกในด้านความปลอดภัย มีวินัยในการขับขี่รถจักยานยนต์เพิ่มขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านความเสี่ยงลดลง มีพฤติกรรมป้องกัน ด้านสิ่งเอื้อความปลอดภัยบนถนน ด้านการสวมหมวกนิรภัย ด้านการสวมอุปกรณ์นิรภัยและด้านการวางแผนการเดินทางเพิ่มมากขึ้น
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจรและการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องสามารถนำไปปฏิบัติขณะใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในท้องถนน และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น (3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีจิตสำนึกในด้านความปลอดภัย มีวินัยในการขับขี่รถจักยานยนต์เพิ่มขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านความเสี่ยงลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564-L3328-1-๐๓
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวีระศักดิ์ ณ พัทลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร ”
ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายวีระศักดิ์ ณ พัทลุง
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564-L3328-1-๐๓ เลขที่ข้อตกลง .................
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2564-L3328-1-๐๓ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันอุบัติเหตุจากการจราจรก่อให้เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของประชนชนในปีหนึ่งๆ อย่างมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจราจรอันเนื่องมาจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ ซึ่งมีผู้เสียชีวิตบาดเจ็บ และพิการส่วนใหญ่อยู่ในวัยเด็กและเยาวชน อันเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าในการพัฒนาประเทศ แต่ต้องมาเสียชีวิต บาดเจ็บ และพิการก่อนที่จะทำประโยชน์ให้กับประเทศชาติ และจากการวิเคราะห์สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ในประเทศไทย พบว่า สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจราจรคือผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์มีพฤติกรรมการขับขี่ที่ไม่ปลอดภัย มีการเสพสารเสพติด มึนเมา ประมาท คึกคะนอง และไม่เคารพกฎจราจร ประกอบกับสภาพของรถจักรยานยนต์ที่ไม่ปลอดภัย สิ่งเหล่านี้ถือเป็นปัจจัยก่อให้เกิดอุบัติเหตุดังกล่าว การป้องกันก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์เหล่านี้จึงเป็นเรื่องที่สำคัญยิ่ง ดังนั้น เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกในด้านความปลอดภัยและวินัยจราจร รวมถึงการป้องกันอุบัติเหตุในท้องถนน การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และทักษะในการขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ถูกต้อง ปลอดภัยและการป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนน ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักเรียนและประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลเขาหัวช้าง จึงได้จัดโครงการขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจรและการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องสามารถนำไปปฏิบัติขณะใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในท้องถนน และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีจิตสำนึกในด้านความปลอดภัย มีวินัยในการขับขี่รถจักยานยนต์เพิ่มขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านความเสี่ยงลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายจราจร ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ในการที่จะเป็นผู้ขับขี่และผู้ใช้รถใช้ถนนที่ดี และสามารถนำไปปฏิบัติขณะใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจรและการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องสามารถนำไปปฏิบัติขณะใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจรและการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้อง |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในท้องถนน และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในท้องถนน และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีจิตสำนึกในด้านความปลอดภัย มีวินัยในการขับขี่รถจักยานยนต์เพิ่มขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านความเสี่ยงลดลง ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีจิตสำนึกในด้านความปลอดภัย มีวินัยในการขับขี่รถจักยานยนต์เพิ่มขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านความเสี่ยงลดลง มีพฤติกรรมป้องกัน ด้านสิ่งเอื้อความปลอดภัยบนถนน ด้านการสวมหมวกนิรภัย ด้านการสวมอุปกรณ์นิรภัยและด้านการวางแผนการเดินทางเพิ่มมากขึ้น |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับกฎจราจรและการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องสามารถนำไปปฏิบัติขณะใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุในท้องถนน และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น (3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีจิตสำนึกในด้านความปลอดภัย มีวินัยในการขับขี่รถจักยานยนต์เพิ่มขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านความเสี่ยงลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจวินัยจราจร จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2564-L3328-1-๐๓
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวีระศักดิ์ ณ พัทลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......