กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชาชนต้นแบบสร้างสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านส้งเปือย
วันที่อนุมัติ 8 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มีนาคม 2564 - 19 มีนาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 18 เมษายน 2564
งบประมาณ 35,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านส้งเปือย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลขัวก่าย อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 62 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
75.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

75.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 35,000.00 0 0.00
15 - 19 มี.ค. 64 จัดอบรมหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนต้นแบบสร้างสุขภาพ 0 35,000.00 -
  1. จัดทำโครงการเพื่อรับการสนับสนุนงบประมาณ
  2. ประชุม ชี้แจงทีมวิทยากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง
  3. จัดทำหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชาชนต้นแบบสร้างสุขภาพ จำนวน 5 วัน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อสม. และกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพอนามัยที่ดี
  2. อสม. และกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลสุขภาพของตนเองมากยิ่งขึ้น
  3. อสม. และกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมกิจกรรมมีกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่องและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเป็นต้นแบบในการสร้างสุขภาพ และดูแลสุขภาพของตนเอง และประชาชนในชุมชนได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 พ.ค. 2564 16:06 น.