โครงการ อสม.เติมยาให้ผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้านโดยใช้ถุงผ้า ลดเสี่ยง ปลอดโรค COVID ประจำปี 2564
ชื่อโครงการ | โครงการ อสม.เติมยาให้ผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้านโดยใช้ถุงผ้า ลดเสี่ยง ปลอดโรค COVID ประจำปี 2564 |
รหัสโครงการ | 64-L3325-2- |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านดอนศาลา |
วันที่อนุมัติ | 1 มิถุนายน 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2564 - 31 สิงหาคม 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 สิงหาคม 2564 |
งบประมาณ | 10,950.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวอารีย์ พูลสมบัติ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางสมทรง ประยูรวงศ์ |
พื้นที่ดำเนินการ | จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 205 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีโอกาสติดเชื้อโควิดน้อย | 205.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้เกิดผลกระทบต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่นโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง,ไขมัน และโรคหลอดเลือดสมอง ที่ต้องเดินทางไปตรวจรักษาที่หน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐ เช่น โรงพยาบาลควนขนุน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา ไม่สามารถไปรับยาด้วยตนเองได้ เพราะการเดินทางไปตรวจรักษาจะเพิ่มความแออัดของคนไข้หลายกลุ่มโรค อยู่ในสถานที่เดียวกัน ทำให้เสี่ยงต่อเกิดติดเชื้อไวัสโคโรนา 2019 ได้ง่ายขึ้น จากปัญหาข้างต้น เห็นว่าเป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้ผู้ป่วยรับประทานยาที่ไม่ต่อเนื่อง เป้าหมายของการรักษาผู้ป่วย คือคนไข้ต้องไม่ขาดยา ได้รับยาตามกำหนดเวลาทั้งในผู้ป่วยที่รับยาเรื้อรังจาก รพ.ควนขนุนและรพ.สต.บ้านดอนศาลา มาตรการ Social Distancing ของกระทรวงสาธารณะสุข โดยเติมยาที่บ้านเพื่อลดความแออัดในการมารับยาในระบบเดิมที่ไม่มีการระบาดช่วง COVID-19ในส่วนของการจัดระบบการรับยาเรื้อรังของ รพ.สต.จะไม่มีแพทย์ออกให้บริการที่ รพ.สต.ตามแผน จึงต้องมีการวางระบบจัดส่งยาให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้านโดย จนท.ร่วมกับ อสม. ช่วยลดความแออัดและเป็นตัวอย่างดีๆ ของการสร้างระบบสุขภาพที่เข้มแข็งในชุมชน สร้างความน่าเชื่อถือในตัว อสม.ในการไปแจกยาให้แก่ชาวบ้านโดยใช้ถุงผ้าลดโลกร้อน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา จึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพขึ้นในชุมชน ด้วยการเติมยาเรื้อรังที่บ้านโดยใช้ถุงผ้าลดโลกร้อนร่วมด้วย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาระบบบริการในผู้ป่วย ได้รับยาตามนัดไม่ขาดยาในช่วงโควิด-19 ร้อยละ100 ของผู้ป่วยได้รับยาตามนัดไม่ขาดยาในช่วงโควิด-19 โดยการเติมยาที่บ้านผ่านเจ้าหน้าที่และอสม. |
205.00 | 205.00 |
2 | เพื่อติดตามอาการและภาวะแทรกซ้อนในช่วงโควิดระบาดได้ ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตามดูแลจากอสม.ในช่วงโควิดระบาด |
205.00 | 205.00 |
3 | เพื่อร่วมรณรงค์ลดภาวะโลกร้อน โดยลดการใช้ถุงพลาสติกในการใส่ยา,เติมยาผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน ร้อยละ 100 ผู้รับบริการใช้ถุงผ้าแทนถุงหิ้วพลาสติก |
205.00 | 205.00 |
1 จัดทำกระเป๋าเติมยา | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 66 | 950.00 | 2 | 950.00 | |
15 มิ.ย. 64 - 14 ก.ค. 64 | จัดประชุมคณะทำงานและชี้แจงการดำเนินโครงการ | 33 | 750.00 | ✔ | 750.00 | |
25 - 31 ส.ค. 64 | ถอดบทเรียนและสรุปโครงการ คืนข้อมูล | 33 | 200.00 | ✔ | 200.00 | |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 0.00 | 2 | 10,000.00 | |
1 - 31 ส.ค. 64 | ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน | 0 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
4 - 31 ส.ค. 64 | นำส่งกระเป๋าผ้าให้กับผู้ป่วยโรคเรื้อรังพร้อมยาที่เติม และลงทะเบียนรายชื่อผู้ที่ได้รับกระเป๋าผ้าเพื่อไว้ติดตามข้อมูลว่าผู้ป่วยได้นำกระเป๋าผ้ามาทุกครั้งหรือไม่ เมื่อมารับบริการครั้งต่อไป | 0 | 0.00 | ✔ | 10,000.00 |
1.การบริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน ได้รับยาตามนัดไม่ขาดยาในช่วงโควิด-19 โดยการเติมยาที่บ้าน 2.ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลอาการและภาวะแทรกซ้อนในช่วงโควิดระบาดได้อย่างต่อเนื่อง 3.ช่วยลดภาวะโลกร้อน โดยลดการใช้ถุงพลาสติกในการใส่ยา,เติมยาผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 พ.ค. 2564 14:10 น.