กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ต้านภัย COVID-19 ”
ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายเดชา วิมาลัย




ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ต้านภัย COVID-19

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7257-1-01 เลขที่ข้อตกลง 62/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ต้านภัย COVID-19 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ต้านภัย COVID-19



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ต้านภัย COVID-19 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7257-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน และรับลงทะเบียนเพื่อฉีดวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน และรับลงทะเบียนเพื่อฉีดวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3. เงินคืน กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน และรับลงทะเบียนเพื่อฉีดวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 800
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้เข้าใจเรื่องโรค COVID-19
  2. ประชาชนมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกัน COVID-19
  3. ประชาชนได้รับการลงทะเบียนเพื่อฉีดวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน และรับลงทะเบียนเพื่อฉีดวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วันที่ 24 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนที่ 1 ก่อนดำเนินการ
1. จัดทำแผนงาน/โครงการ
2. เขียนโครงการเสนอประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
3. ประชุมชี้แจงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการ

ขั้นตอนที่ 2 ดำเนินการตามโครงการ
1. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ บุคลากร และงบประมาณในการดำเนินงาน
2. แกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชนตลอดจนรับลงทะเบียน เพื่อขอรับวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป กลุ่มผู้ป่วย 7 โรคเรื้องรัง และกลุ่มประชาชนทั่วไป 18-59 ปี

ขั้นตอนที่ 3 สรุปผลการดำเนินงาน
1. สรุปปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
2. ประเมินผลโครงการค่าอาหารกลางวัน (กลุ่มเป้าหมายและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง)

ลงพื้นที่
วันที่ 24 มิถุนายน 2564 - กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคอหงส์ 1
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเตย 1
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านในไร่
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคอหงส์ 6
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเตย 4

วันที่ 25 มิถุนายน 2564 - กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านทุ่งโดน 1-4
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเตย 2

วันที่ 28 มิถุนายน 2564
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านปลักธง
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเตย
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเปล 2
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเปล 3

วันที่ 29 มิถุนายน 2564
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองหวะ 1-4

วันที่ 30 มิถุนายน 2564
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านทุ่งรี 1-5

วันที่ 1 กรกฎาคม 2564
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านทุ่งโดน 1-4


รายละเอียดค่าใช้จ่ายตามโครงการ
1. ค่าอาหารกลางวัน (กลุ่มเป้าหมายและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง)
จำนวน 120 คน x 50.- บาท x 4 วัน เป็นเงิน 24,000.- บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (กลุ่มเป้าหมายและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง)
จำนวน 120 คน x 25.- บาท x 8 ครั้ง เป็นเงิน 24,000.- บาท
3. ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย x 3 x 150.- บาท เป็นเงิน 450.- บาท
4. ค่ากระดาษ A4 250 รีม x 120.- บาท เป็นเงิน 30,000.- บาท
5. ค่าถุงมือเป็นเงิน 6,000.- บาท
6. ค่าหมวกคุมผมเป็นเงิน 6,000.- บาท
7. ค่าหมึกพิมพ์เป็นเงิน 7,000.- บาท
8. ค่าถ่ายเอกสารเป็นเงิน 1,500.- บาท
รวมทั้งสิ้น 98,950.- บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จัดกิจกรรมลงพื้นที่ภายใต้โครงการเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ต้านภัย COVID-19 ตังแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2564 ถึงวันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ซึ่งเป็นกิจกรรมมี่ทำให้ประชาชนมีความรู้เรื่องอาการของโรค และรู้วิธีการป้องกันโรค COVID-19 สามารถมีหน้ากากอนามัยใช้เอง และสามารถสวมหน้ากากอนามัยถูกวิธี
    ลงพื้นที่

วันที่ 24 มิถุนายน 2564
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคอหงส์ 1
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเตย 1
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านในไร่
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 51 คน
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคอหงส์ 6
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 31 คน
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเตย 4
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน

วันที่ 25 มิถุนายน 2564
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านทุ่งโดน 1-4
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 70 คน
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเตย 2
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน

วันที่ 28 มิถุนายน 2564
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านปลักธง
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 26 คน
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเตย
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 21 คน
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเปล 2
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองเปล 3
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 17 คน

วันที่ 29 มิถุนายน 2564
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านคลองหวะ 1-4
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 70 คน

วันที่ 30 มิถุนายน 2564
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านทุ่งรี 1-5 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2564
- กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน ณ ชุมชนบ้านทุ่งโดน 1-4
มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน


รายละเอียดค่าใช้จ่าย
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คน x 50 บาท x 6 วัน เป็นเงิน 24,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คน x 25 บาท x 12 ครั้ง เป็นเงิน 24,000 บาท
- ค่ากระดาษ A5 จำนวน 250 รีม x 120 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
- ค่าถุงมือ จำนวน 36 กล่อง x 250 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
- ค่าหมวกคลุมผม จำนวน 20 ห่อ x 150 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าหมึกพิมพ์ HP Laser 107 A เป็นเงิน 4,600 บาท
- ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 9,091 แผ่น x 0.33 สตางค์ เป็นเงิน 3,000.03 บาท

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
800.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 800
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 800
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน และรับลงทะเบียนเพื่อฉีดวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน และรับลงทะเบียนเพื่อฉีดวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) เงินคืน กิจกรรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรอง ให้ความรู้กับประชาชน และรับลงทะเบียนเพื่อฉีดวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ต้านภัย COVID-19 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7257-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเดชา วิมาลัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด