กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป


“ โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี 2564 ”

ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางยูนัยดะห์ กะดะแซ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2564-L8412-7(1)-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2564-L8412-7(1)-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมากมาย อุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้า ๆ ในอดีต แต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้น เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์และการดื้อยา ดังนั้นกระทรวงสาธารณสุขจึงให้ความสำคัญแก่แผนงานวัณโรคแห่งชาติ เพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ที่สำคัญในการควบคุมวัณโรค ปัจจุบัน วัณโรคยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยแม้นปี 2559 องค์การอนามัยโลก(WHO ) จะกำหนดยุทธศาสตร์เพื่อยุติวัณโรค โดยมีเป้าหมายลดอุบัติการณ์วัณโรคให้ต่ำกว่า 10 ต่อแสนประชากรโลกภายในปี 2578 ขณะที่กระทรวงสาธารณสุขโดยสำนักงานวัณโรค กรมควบคุมโรคได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติพ.ศ.2561-2564 เพื่อเป็นกรอบการดำเนินงานในการลดอุบัติการณ์วัณโรคไปสู่เป้าหมายยุติวัณโรคอุบัติการณ์ วัณโรคในประเทศไทยยังคงมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากประชาชนยังขาดความตระหนัก รับรู้ และยังมองว่าไม่ร้ายแรงขณะที่องค์การอนามัยโลกได้จัดให้ประเทศไทยติดอันดับ14 ของโลกที่มีปัญหาวัณโรคสูงสำหรับสถานการณ์วัณโรคในประเทศไทย มีอัตราผู้ป่วย 156 ต่อแสนประชากร คาดว่าผู้ป่วยรายใหม่และกลับเป็นซ้ำกว่า 108,000รายต่อปี ในส่วนของพื้นที่ตำบลท่าสาป เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรควัณโรคมาอย่างต่อเนื่อง และพื้นที่ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา สถานการณ์โรควัณโรคตำบลท่าสาป ย้อนหลัง 3 ปี (2561 – 2563) พบผู้ป่วยวัณโรคจำนวน 9 , 8 และ 7 ราย ตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วย 112.91 , 100.36 , 87.82 ต่อแสนประชากรซึ่งมีอัตราป่วยด้วยโรควัณโรคสูงทุกปี และในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่ ตุลาคม 2563-30 เมษายน 2564 มีผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 75.27 และมีผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรง (pre-XDR-TB) เสียชีวิต จากปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี2564 เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรควัณโรคปอด อันจะนำไปสู่การเกิดโรคในอนาคต โรคพวกนี้เป็นปัญหาเรื้อรัง และสูญเสียงบประมาณในการดูแล การค้นหาตั้งแต่ในระยะเริ่มแรก เพื่อจะได้รับการดูแลตามมาตรฐาน คือ ในกลุ่มปกติให้คำแนะนำในการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้นและติดตามการคัดกรอง 1 ครั้ง/ปี กลุ่มที่พบผลการตรวจผิดปกติ ได้รับการส่งต่อไปรับการรักษาที่ถูกต้องที่โรงพยาบาล ส่งผลให้ประชาชนในเขตพื้นที่บริการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่เป็นโรค มีคุณภาพชีวิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง
  2. เพื่อให้ผู้ติดเชื้อวัณโรครายใหม่ในพื้นที่เขตรับผิดชอบได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา
  3. เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรควัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพ อสม.
  2. อบรมหใ้ความรู้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงผู้ติดเชื้อวัณโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการรักษาที่ถูกต้องทันเวลา ร้อยละ 80     2. ร้อยละของแกนนำสุขภาพมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90     3. ประชาชนและหน่วยงานมีความรู้ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของภัยโรควัณโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : . ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับวินิจฉัยและรักษาทันเวลา ร้อยละ 80
1.00

 

2 เพื่อให้ผู้ติดเชื้อวัณโรครายใหม่ในพื้นที่เขตรับผิดชอบได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการรักษาที่ถูกต้องทันเวลา ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรควัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแกนนำสุขภาพมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยง (2) เพื่อให้ผู้ติดเชื้อวัณโรครายใหม่ในพื้นที่เขตรับผิดชอบได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา (3) เพื่อให้แกนนำสุขภาพได้รับความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรควัณโรคและแนวทางการคัดกรองที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพ อสม. (2) อบรมหใ้ความรู้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงผู้ติดเชื้อวัณโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันและค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2564-L8412-7(1)-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยูนัยดะห์ กะดะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด