โครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ครั้งที่ 3
ชื่อโครงการ | โครงการควบคุมและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ ครั้งที่ 3 |
รหัสโครงการ | 64-L4117-5-3 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม |
วันที่อนุมัติ | 31 พฤษภาคม 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 15 ตุลาคม 2564 |
งบประมาณ | 100,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวนูรือมา ลายามุง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 มิ.ย. 2564 | 1 มิ.ย. 2564 | 100,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 100,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 1000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 1000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 3000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 1000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลบาละ | 90.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด -19 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้ โรคไวรัสโคโรนา 2019หรือ COVID-19 เป็นโรคติดต่ออันตราย ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากและในช่วงเดือนธันวาคม2564 เริ่มมีการระบาดของโรคนี้เกิดขึ้นระลอกใหม่ พบผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นทุกวัน ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง การเฝ้าระวังและการป้องกันที่ถูกต้อง อีกทั้งในพื้นที่ตำบลบาละ พบผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ส่งผลให้ตำบลบาละต้องมีมาตรการป้องกันและดูแลประชาชนนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) มาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสภาพที่แออัด หรือมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ ดังนั้น เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงการป้องกันตนเองโดยการล้างมือเพื่อป้องกันโรค ไม่เฉพาะโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาด หรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลบาละ เพื่อเป็นการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 มิ.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 | ใช้อาคารของโรงเรียนหรืออาคารเอนกประสงค์เพื่อการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง | 3000 | 100,000.00 | ✔ | 100,000.00 | |
รวม | 3,000 | 100,000.00 | 1 | 100,000.00 |
- ขั้นตอนวางแผนงาน
- ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาแลรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ
- แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ
- ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน
2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วน ตำบลบาละ
3.ขั้นตอนการดำเนินงาน
1. รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) ดำเนินการผลิตสื่อ ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ
2. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3.การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
4.ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และแจ้งให้ประชาชนทราบเป็นระยะ
5.สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ
1.เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19
2.ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19 ได้รับการกักตัว 100 %
3.การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2564 09:30 น.