กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการกิจกรรมสัญจรชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ปี 2564 ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสุพัฒนา เนียมน้อย




ชื่อโครงการ โครงการกิจกรรมสัญจรชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2564-L8412-7(3)-01 เลขที่ข้อตกลง 11/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกิจกรรมสัญจรชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกิจกรรมสัญจรชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกิจกรรมสัญจรชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2564-L8412-7(3)-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุ ( elderlyperson) ถือเป็นบุคคลที่มีคุณค่ายิ่งของสังคมไทยนอกจากเคยเป็นพลังสำคัญของสังคมมาก่อน เป็นผู้มีความรู้ มีทักษะด้านต่างๆและได้ทำคุณประโยชน์มาแล้วมากมาย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ให้การดูแลบุคคลเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในขณะที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ และสังคม มีการเปลี่ยนแปลงจากครอบครัวขยายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ผู้สูงอายุบางครอบครัวขาดการดูแลเอาใจใส่จากบุตรหลานหากผู้สูงอายุไม่สามารถปรับตัวให้รับการเปลี่ยนแปลงได้ทัน นอกจากต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพทางกายที่เกิดตามวัยแล้ว ผู้สูงอายุบางรายอาจต้องเผชิญกับปัญหาด้านจิตใจด้วย ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ได้จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาปเมื่อปี 2554 ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด 475 คน ( ข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2564 ) จากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก ผู้สูงอายุในชมรมฯมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่อง สมาชิกชมรมฯส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสในการจัดกิจกรรมต่างๆของชมรม ทำให้สมาชิกได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือพบปะสังสรรค์กับเพื่อนในวัยเดียวกัน ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป จึงได้จัดโครงการชมรมผู้สูงอายุสุขภาพดีขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับช่วงวัย ให้สมาชิกได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต อันจะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความเข้าใจในการสร้างเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขต่อไป           ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการชมรมผู้สูงอายุสุขภาพดีสัญจร ปัจจุบันในเขตตำบลท่าสาปมีหมู่บ้านทั้งหมด 6 หมู่บ้าน การสัญจรก็เลยต้องทำทุกพื้นที่ เนื่องจากการลงพบชุมชนในพื้นที่เพื่อความสะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรมของ ผู้สูงอายุที่ไม่มียานพาหนะ หรือไม่มีบุตรหลานพาไป ตลอดจนเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้สูงอายุ  ทางชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาปจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาปให้ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับช่วงวัย
  3. ข้อที่ 3.เพื่อให้สมาชิกได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้เรื่องสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุและการเสริมทักษะการดูแลสุขภาพของตนเองในผู้สูงอายุที่เหมาะสม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีสามารถดำรงชีวิตในสังคมด้วยความปกติสุข
  2. ชมรมผู้สูงอายุมีการดำเนินงานที่เข้มแข็ง สร้างความผูกพันระหว่างสมาชิกในชมรม
  3. เกิดการประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยบริการและชมรมผู้สูงอายุในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการเข้าถึงการบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดระบบบริการในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับชมรมผู้สูงอายุและเกิดการพัฒนาให้เป็นระบบที่ผู้สูงอายุเข้าถึงได้มากยิ่งขึ้น
  4. ผู้สูงอายุที่เป็นอดีตข้าราชการและลูกจ้าง ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้เข้ามามีบทบาทในการช่วยเหลือสังคมผู้สูงอายุในชุมชนและมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาปให้ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับช่วงวัย
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมในระดับดี
0.00

 

3 ข้อที่ 3.เพื่อให้สมาชิกได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : 3. จำนวนสมาชิกที่มาร่วมกิจกรรม มากกว่า ร้อยละ 80 ของเป้าหมายในแต่ละกิจกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาปให้ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริมทักษะการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับช่วงวัย (3) ข้อที่ 3.เพื่อให้สมาชิกได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้เรื่องสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุและการเสริมทักษะการดูแลสุขภาพของตนเองในผู้สูงอายุที่เหมาะสม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกิจกรรมสัญจรชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าสาป ปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2564-L8412-7(3)-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุพัฒนา เนียมน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด