โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564 ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอิคลีมา สาแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564
ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2564-L8412-7(3)-02 เลขที่ข้อตกลง 12/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2564-L8412-7(3)-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) พร้อม ๆ กับการก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0 ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลให้หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ต้องตื่นตัวเพื่อเตรียมรับมือกับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ด้วยเหตุผลจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นและปัจจัยด้านเศรษฐกิจสังคมที่เปลี่ยนไปส่งผลให้ความต้องการของธุรกิจดูแลผู้สูงอายุขยายตัวเพื่อรองรับจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอแนวทางการจัดธุรกิจสุขภาพการดูแลผู้สูงอายุเพื่อก้าวทันยุคไทยแลนด์ 4.0 ภายใต้แนวคิดทฤษฎีความสูงอายุด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เนื้อหาประกอบด้วย 1) แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 2) แนวคิดธุรกิจสุขภาพผู้สูงอายุ และ 3) แนวทางการจัดธุรกิจสุขภาพการดูแลผู้สูงอายุสู่ Thailand 4.0 ที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ซึ่งบทสรุปของบทความนี้จะนำไปสู่แนวทางการดำเนินธุรกิจสุขภาพการดูแลผู้สูงอายุเพื่อก้าวทันยุคไทยแลนด์ 4.0 อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพต่อไป
ในเขตรับผิดชอบ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป มีทั้งหมด 6 หมู่บ้าน มีผู้สูงอายุทั้งสิ้น 925 คนจากการสำรวจ ณ กุมภาพันธ์ 2564 และข้อมูล HDC มีผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง แยกตามรายกลุ่ม ได้ดังนี้
กลุ่มพึ่งพิง ทั้งสิ้น 68 คน กลุ่ม 1 จำนวน 22 คน กลุ่ม 2 จำนวน 12 คน กลุ่ม 3 จำนวน 18 คน กลุ่ม 4 จำนวน 16 คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป เป็นพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินการตามโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล (Long Term Care)โดยเข้าร่วมโครงการตั้งแต่ ปี2559 เป็นต้นมา และมีการจัดการ “รวมพลังขับเคลื่อนสังคมผู้สูงวัย เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้” จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและญาติที่ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่(Care Giver) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฟื้นฟูความรู้และฝึกทักษะทางการพยาบาลและดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้ถูกต้อง
- ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริม/สนับสนุนให้ญาติที่มีดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในการช่วยเหลือดูแลสุขภาพและมีการบริหารจัดการเพื่อเข้าถึงการรับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพและกว้างขวาง
- ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยบริการ ภาคีและกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุและการฟื้นฟูสภาพให้กับผู้สูงอายุ แก่ญาติและผู้ดูแลผู้สูงอายุ ( CG )
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฟื้นฟูความรู้และฝึกทักษะทางการพยาบาลและดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ดูแลผู้สูงอายุและญาติที่ต้องดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้ความเข้าและมีทักษะมากขึ้น ร้อยละ 95
0.00
2
ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริม/สนับสนุนให้ญาติที่มีดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในการช่วยเหลือดูแลสุขภาพและมีการบริหารจัดการเพื่อเข้าถึงการรับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพและกว้างขวาง
ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมติดตามและดูแลที่ถูกต้องโดยญาติและทีมผู้ดูแลผู้สูงอายุ ร้อยละ 100
0.00
3
ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยบริการ ภาคีและกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 3. ผู้สูงอายุได้เข้าถึงบริการทางการแพทย์ ร้อยละ 100
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฟื้นฟูความรู้และฝึกทักษะทางการพยาบาลและดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้ถูกต้อง (2) ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริม/สนับสนุนให้ญาติที่มีดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในการช่วยเหลือดูแลสุขภาพและมีการบริหารจัดการเพื่อเข้าถึงการรับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพและกว้างขวาง (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยบริการ ภาคีและกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุและการฟื้นฟูสภาพให้กับผู้สูงอายุ แก่ญาติและผู้ดูแลผู้สูงอายุ ( CG )
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2564-L8412-7(3)-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอิคลีมา สาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564 ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอิคลีมา สาแม
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2564-L8412-7(3)-02 เลขที่ข้อตกลง 12/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2564-L8412-7(3)-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) พร้อม ๆ กับการก้าวสู่ไทยแลนด์ 4.0 ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลให้หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ต้องตื่นตัวเพื่อเตรียมรับมือกับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ด้วยเหตุผลจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นและปัจจัยด้านเศรษฐกิจสังคมที่เปลี่ยนไปส่งผลให้ความต้องการของธุรกิจดูแลผู้สูงอายุขยายตัวเพื่อรองรับจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอแนวทางการจัดธุรกิจสุขภาพการดูแลผู้สูงอายุเพื่อก้าวทันยุคไทยแลนด์ 4.0 ภายใต้แนวคิดทฤษฎีความสูงอายุด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เนื้อหาประกอบด้วย 1) แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 2) แนวคิดธุรกิจสุขภาพผู้สูงอายุ และ 3) แนวทางการจัดธุรกิจสุขภาพการดูแลผู้สูงอายุสู่ Thailand 4.0 ที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ซึ่งบทสรุปของบทความนี้จะนำไปสู่แนวทางการดำเนินธุรกิจสุขภาพการดูแลผู้สูงอายุเพื่อก้าวทันยุคไทยแลนด์ 4.0 อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพต่อไป ในเขตรับผิดชอบ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป มีทั้งหมด 6 หมู่บ้าน มีผู้สูงอายุทั้งสิ้น 925 คนจากการสำรวจ ณ กุมภาพันธ์ 2564 และข้อมูล HDC มีผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง แยกตามรายกลุ่ม ได้ดังนี้ กลุ่มพึ่งพิง ทั้งสิ้น 68 คน กลุ่ม 1 จำนวน 22 คน กลุ่ม 2 จำนวน 12 คน กลุ่ม 3 จำนวน 18 คน กลุ่ม 4 จำนวน 16 คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป เป็นพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินการตามโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล (Long Term Care)โดยเข้าร่วมโครงการตั้งแต่ ปี2559 เป็นต้นมา และมีการจัดการ “รวมพลังขับเคลื่อนสังคมผู้สูงวัย เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้” จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและญาติที่ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่(Care Giver) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฟื้นฟูความรู้และฝึกทักษะทางการพยาบาลและดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้ถูกต้อง
- ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริม/สนับสนุนให้ญาติที่มีดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในการช่วยเหลือดูแลสุขภาพและมีการบริหารจัดการเพื่อเข้าถึงการรับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพและกว้างขวาง
- ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยบริการ ภาคีและกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุและการฟื้นฟูสภาพให้กับผู้สูงอายุ แก่ญาติและผู้ดูแลผู้สูงอายุ ( CG )
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฟื้นฟูความรู้และฝึกทักษะทางการพยาบาลและดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1. ผู้ดูแลผู้สูงอายุและญาติที่ต้องดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีความรู้ความเข้าและมีทักษะมากขึ้น ร้อยละ 95 |
0.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริม/สนับสนุนให้ญาติที่มีดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในการช่วยเหลือดูแลสุขภาพและมีการบริหารจัดการเพื่อเข้าถึงการรับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพและกว้างขวาง ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมติดตามและดูแลที่ถูกต้องโดยญาติและทีมผู้ดูแลผู้สูงอายุ ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยบริการ ภาคีและกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 3. ผู้สูงอายุได้เข้าถึงบริการทางการแพทย์ ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฟื้นฟูความรู้และฝึกทักษะทางการพยาบาลและดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้ถูกต้อง (2) ข้อที่ 2. เพื่อส่งเสริม/สนับสนุนให้ญาติที่มีดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในการช่วยเหลือดูแลสุขภาพและมีการบริหารจัดการเพื่อเข้าถึงการรับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพและกว้างขวาง (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยบริการ ภาคีและกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุและการฟื้นฟูสภาพให้กับผู้สูงอายุ แก่ญาติและผู้ดูแลผู้สูงอายุ ( CG )
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมฟื้นฟูวิชาการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการติดเตียง ปี 2564 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2564-L8412-7(3)-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอิคลีมา สาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......