กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ต่อต้านยาเสพติด ประจำปี 2564
รหัสโครงการ ๖๔ - L๓๐๕๙ - ๑ - ๐๔
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังดาลำ
วันที่อนุมัติ 6 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มิถุนายน 2564 - 17 มิถุนายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 16 กรกฎาคม 2564
งบประมาณ 41,450.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ อับดุลการิม กะมะ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
พี่เลี้ยงโครงการ อัสมิน ฮายีนิเงาะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะนังดาลำ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.649,101.599place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 มิ.ย. 2564 17 มิ.ย. 2564 41,450.00
รวมงบประมาณ 41,450.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังดาลำ มีการแพร่ระบาดอย่างรุนแรง จากการสำรวจพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ติดและผู้เสพยาเสพติดมากขึ้น จากเดิม ที่ผู้เสพส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงของวัยรุ่นและวัยทำงาน แต่ปัจจุบันพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของผู้เสพที่อยู่ในวัยนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จึงเห็นได้ว่าปัญหายาเสพติดได้มีการแพร่ระบาด เป็นวงกว้างมากยิ่งขึ้น และหนักขึ้นเป็นทวีคูณ มีจำนวนผู้เสี่ยงที่มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น เพื่อเป็นการลดและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังดาลำ จึงจำเป็นจะต้องมี โครงการและมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ลดเบาบางจนหมดสิ้นไป องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังดาลำ เห็นความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการอบรมและรณรงค์การแก้ไขปัญหายาเสพติด ประจำปี 2564 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ให้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดและให้ความสำคัญในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อีกทั้งเป็นการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนาเยาวชนในพื้นที่ให้เป็นทรัพยากร ที่ทรงคุณค่าของประเทศต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่ ตำบลมะนังดาลำ 2. เพื่อเฝ้าระวังการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและเยาวชนในชุมชน 3. เพื่อสนับสนุนการป้องกันยาเสพติดตามนโยบายของรัฐบาล 4. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  1. เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เด็ก และเยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ให้แก่ตนเอง และครอบครัว ตลอดจนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ ติดในระดับสถานศึกษา และชุมชน
  3. เด็กและเยาวชนได้มีส่วนร่วมในการรณรงค์ และเฝ้าระวังป้องกันมิให้มีการแพร่ระบาดของ ยาเสพติดเข้ามาสู่ชุมชน
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 41,450.00 0 0.00
15 มิ.ย. 64 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้/แจกแผ่นพับ 0 41,450.00 -
16 มิ.ย. 64 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้/แจกแผ่นพับ 0 0.00 -
17 มิ.ย. 64 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้้/แจกแผ่นพับ 0 0.00 -

๑. ประชุมหารือผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อเขียนโครงการ ๒. เสนอโครงการให้ผู้บริหารพิจารณาอนุมัติ ๓. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๔. ดำเนินการตามแผนงาน ๕. รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เด็ก และเยาวชนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ให้แก่ตนเอง และครอบครัว ตลอดจนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ ติดในระดับสถานศึกษา และชุมชน ๓. เด็กและเยาวชนได้มีส่วนร่วมในการรณรงค์ และเฝ้าระวังป้องกันมิให้มีการแพร่ระบาดของ ยาเสพติดเข้ามาสู่ชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มิ.ย. 2564 10:51 น.