กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
รหัสโครงการ 64-L3365-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลอ่างทอง
วันที่อนุมัติ 21 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 10 มกราคม 2565
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสิวาลัย ใสสะอาด
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวสิวาลัย ใสสะอาด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลอ่างทอง อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 21 มิ.ย. 2564 21 มิ.ย. 2564 21 มิ.ย. 2564 21 มิ.ย. 2564 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 44 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 6 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 70 20,000.00 0 0.00
4 ก.ย. 64 จัดกิจกรรมอบรมการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น 20 10,000.00 -
25 ธ.ค. 64 อสม.จิ๋ว อาสาสมัครวัยใสใส่ใจสุขภาพ 50 10,000.00 -

จัดฝึกอบรมและฝึกปฎิบัติ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กและเยาวชนทั่วไปมีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 2. เด็กและเยาวชนทั่วไปมีความภาคภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
3. เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม สามารถนำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาตนเองได้ 1.เด็กและเยาวชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง 2. เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนในการดูแลสุขภาพของคนในครอบครัว และชุมชน รวมถึงการมีเครือข่ายเด็กและเยาวชนในด้านการดูแลสุขภาพในชุมชน
3. เกิดจิตอาสาแ ะจิตสำนึกสาธารณะในเด็กและเยาวชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มิ.ย. 2564 16:32 น.