กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ประจำปีงบประมาณ 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายพีรพล หมาดเท่ง

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64 - L8010 - 5 - 01 เลขที่ข้อตกลง 14/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 พฤศจิกายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒0๑๙ (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลุ่มกำแพงร่วมใจใส่ใจสุขภาพ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน ๙๙,๗๒๕ บาท วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน และลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๓๙ (COVID-19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างจนยากแก่การควบคุม กลุ่มเป้าหมาย คาสนสถาน จำนวน ๑๗ แห่ง, คณะกรรมการ/ผู้ดูแลศาสนสถานและประชาชนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้

๑. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในหมู่บ้าน
๒. ตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง โดยมีการประชุมคณะทำงาน อบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนศาสนสถาน และสนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ในการควบคุมป้องกันโรคให้กับศาสนสถาน
๓. ตรวจคัดกรอง เฝ้าระวังและสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจาก ต่างตำบล ต่างอำเภอต่างจังหวัดและประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง
๔. การแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine)
๕. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลการดำเนินกิจกรรม ดังนี้
๑. สนับสนุนป้ายประชาสัมพันธ์ให้กับศาสนสถานในพื้นที่ จำนวน ๑๗ แห่ง
๒. สนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองให้กับศาสนสถาน ร้อยละ ๑๐๐ และตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง โดยการวัดอุณหภูมิก่อนเข้าในสถานที่ที่ประกอบพิธีทางศาสนา สวมใส่หน้าอนามัยทุกครั้ง คณะกรรมการ/ผู้ดูแลศาสนสถาน มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒0๑๙ และการใช้วัสดุ/อุปกรณ์ ในการตรวจคัดกรอง ร้อยละ ๘๕
๓. ประชาชนที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง จำนวน ๑๔ วัน พบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรน่ 2019 ในพื้นที่ตำบลกำแพง ทั้งหมดจำนวน 721 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.00 และมีผู้ติดเชื้อที่เสียชีวิตจำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.01

ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน

๑. การติดตั้งเครื่องวัดอุณหภูมิเปิดใช้งาน มีความยุ่งยาก ชับซ้อน เนื่องจากคณะกรรมการส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ

๒. คณะกรรมการกลุ่มกำแพงร่วมใจใส่ใจสุขภาพ ลงพื้นที่ติดตั้งเครื่องวัดอุณหภูมิให้กับวัค/มัสยิดที่มีปัญหาการติดตั้ง และติดตามการใช้งานแต่ละที่

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอก 3 ใหม่ช่วงเดือนเมษายน จนถึงปัจจุบัน มีอัตราการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและในวงกว้างส่งผลให้ประชาชนติดเชื้อโควิด 19 จำนวนมากกว่าวันละ 1,000 คน ผู้ติดเชื้อคลัสเตอร์ใหญ่มาจาก "สถานบันเทิง" กลางกรุง ทำให้เชื้อกระจายไปทั่วประเทศ ข้อมูลจากศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เมื่อวันที่ 4มิถุนายน 2564 มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ 2,631 ทำให้มียอดผู้ป่วยสะสมล่าสุดอยู่ที่ 171,978 ราย พบผู้เสียชีวิตรายใหม่ 3 ราย ทำให้ยอดผู้เสียชีวิตสะสมทั่วประเทศอยู่ที่ 1,177 ราย จากสถานการณ์ปัจจุบัน การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่จังหวัดสตูล ปัจจุบันมีจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มจำนวนมากขึ้น จำนวน 21 ราย ซึ่งการระบาดระลอกใหม่นี้ พบว่าเป็นเชื้อโรคสายพันธุ์ที่สามารถแพร่ระบาดได้รวดเร็วกว่าสายพันธุ์ปกติ และมีแนวโน้มที่จะมีการแพร่ระบาดมากยิ่งขึ้น จากการการติดตามและสอบสวนโรคของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสาธารณสุข พบว่าการที่ผู้ติดเชื้อมิได้แสดงอาการของโรค ทำให้เชื้อโรคแพร่ออกไปยังผู้สัมผัสใกล้ชิด จึงมีความจำเป็นต้องบังคับใช้มาตรการการกักกันโรคที่เข้มงวดขึ้น เพื่อป้องกันและระงับยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคมิให้แพร่ระบาดในวงกว้าง และรัฐบาลยังไม่ได้มีมาตรการในการลดการเคลื่อนที่ของประชาชน ทำให้มีโอกาสสูงที่จะมีการแพร่ระบาดอย่างกว้างขวาง หากไม่ได้มีมาตรการคัดกรองอย่างเข้มงวดในสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีทั้งหมด 12 หมู่บ้าน ประชากรจำนวน 14,100 คน(ณ วันที่ 30 มีนาคม 2564) ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และศาสนาพุทธ มัสยิด/วัด เป็นสถานที่สำหรับปฏิบัติศาสนกิจประชาชนในชุมชน และในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ถือว่าเป็นสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูง เพราะเป็นการรวมกลุ่มคนเป็นจำนวนมากในการทำกิจกรรมร่วมกัน จึงมีโอกาสสูงที่จะเกิดการแพร่ระบาดได้ หากมีการควบคุม ป้องกันไม่ดีพอ ประชาชนในชุมชนยังไปประกอบพิธีทางศาสนาที่มัสยิด/วัด แต่ได้มีมาตรการการป้องกันโดยการเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ แต่ในสถานที่ดังกล่าวยังขาดวัสดุ/อุปกรณ์และมีไม่เพียงพอในการควบคุมและป้องกันโรค ด้วยเหตุนี้ กลุ่มกำแพงร่วมใจใส่ใจสุขภาพ จึงเล็งเห็นว่าหากไม่ดำเนินการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อกรณีโรคไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด 19 นี้ ประชาชนมีโอกาสในการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ค่อนข้างสูง ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อป้องกัน ควบคุม มิให้คนในชุมชน/หมู่บ้าน ในพื้นที่ตำบลต้องป่วยและเสียชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน และลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างจนยากแก่การควบคุม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้ แก่ประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน
  2. ตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ผู้ที่เดินทางมาประกอบศาสนกิจในศาสนสถาน
  3. ตรวจคัดกรอง เฝ้าระวังและสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจาก ต่างตำบล ต่างอำเภอต่างจังหวัดและประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง
  4. การแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine)
  5. จัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 14,100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความตระหนักในการดูแลป้องกันไม่ให้เกิดโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. สามารถควบคุมป้องกันและลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในพื้นที่ได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ผู้ที่เดินทางมาประกอบศาสนกิจในศาสนสถาน

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงาน จำนวน 4 ครั้ง เพื่อชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติงาน จำนวน 1 ครั้ง และประชุม War room คณะทำงาน เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 เดือน เพื่อทราบสถานการและปรับแผนการทำงานเพื่อทราบสถานการณ์และปรับแผนการทำงาน
  2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และสอน/สาธิตการใช้วัสดุ/อุปกรณ์ในการเฝ้าระวังคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและการควบคุมป้องกันโรค
  3. ตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง โดยการวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าในสถานที่ที่ประกอบพิธีทางศาสนา พร้อมทั้งให้สวมใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองให้กับศาสนสถาน ร้อยละ 100 และตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง โดยการวัดอุณหภูมิก่อนเข้าในสถานที่ที่ประกอบพิธีทางศาสนา สวมใส่หน้าอนามัยทุกครั้ง คณะกรรมการ/ผู้ดูแลศาสนสถาน มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และการใช้วัสดุ/อุปกรณ์  ในการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 81

 

0 0

2. ตรวจคัดกรอง เฝ้าระวังและสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจาก ต่างตำบล ต่างอำเภอต่างจังหวัดและประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. เก็บ รวบรวม ข้อมูลผู้ที่เดินทางกลับจากต่างจังหวัดและต่างประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง เข้ามาอยู่ในพื้นที่ รายงานให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอำเภอละงูทราบ
  2. ดำเนินการตรวจคัดกรองเฝ้าระวัง และสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจากต่างตำบล ต่างอำเภอ ต่างจังหวัดและประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อ หรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง เข้ามาอยู่ในพื้นที่ ร่วมกับคณะกรรมการหมู่บ้าน,เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลละงู,องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง และคณะทำงานฝ่ายปกครองในหมู่บ้าน รายงานให้อำเภอละงูทราบ
  3. ดำเนินการให้ความรู้ แก่ผู้ที่ถูกกักตัวและญาติทุกราย ให้ดำเนินการตามมาตรการหมู่บ้านและชุมชนเป็นเวลา 14 วัน
  4. ตั้งด่านตรวจ จุดตรวจ จุดสกัด เพื่อคัดกรองและค้นหาเชิงรุกในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-19) ร่วมกับคณะทำงานฝ่ายปกครองในหมู่บ้านและผู้เกี่ยวข้อง
  5. คัดกรอง และซักประวัติบุคคลที่มีความเสี่ยงตามแบบฟอร์มของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขกำหนดให้
  6. กรณีพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยง รายงานและประสานให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขดำเนินการต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง

 

0 0

3. การแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine)

วันที่ 1 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชาชนที่เดินทางมาจากต่างตำบล ต่างอำเภอ ต่างจังหวัด และต่างประเทศ ที่เดินทางมาจากพื้นที่ที่มีโรคระบาดต่อเนื่องที่มีความเสี่ยงสูงทุกราย และโดยความเห็นของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้มีการกักตัวที่ LQ หรือ HQ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง

 

0 0

4. ประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้ แก่ประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำป้ายไวนิลเพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในหมู่บ้านทราบ ถึงสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคและแนวทางการในการป้องกันแก้ไข
    1.2 จัดทำเอกสาร แผ่นพับ หรือแผ่นปลิว เพื่อสร้างความรู้ให้ประชาชนทุกครัวเรือน
    1.3 ประชาสัมพันธ์ทางเสียงตามสายในหมู่บ้าน หรือวิธีอื่นๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สนับสนุนป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรการป้องกันโรค D-M-H-T-T เพื่อป้องกันโควิด-19 ให้กับศาสนสถานในพื้นที่ จำนวน 17 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

 

0 0

5. จัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 31 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. สนับสนุนป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรการป้องกันโรค D-M-H-T-T เพื่อป้องกันโควิด-19 ให้กับ ศาสนสถานในพื้นที่ จำนวน 17 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100
    1. สนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองให้กับศาสนสถาน ร้อยละ 100 และตรวจคัดกรอง    เฝ้าระวัง โดยการวัดอุณหภูมิก่อนเข้าในสถานที่ที่ประกอบพิธีทางศาสนา สวมใส่หน้าอนามัยทุกครั้ง คณะกรรมการ/ผู้ดูแลศาสนสถาน มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และการใช้วัสดุ/อุปกรณ์    ในการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 81
    2. ประชาชนที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง จำนวน 14 วัน
  2. พบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แยกรายหมู่บ้าน ดังนี้

    • หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน จำนวน  70  คน คิดเป็นร้อยละ 3.56
    • หมู่ที่ 2 บ้านท่าแลหลา จำนวน  86  คน คิดเป็นร้อยละ 4.80
    • หมู่ที่ 3 บ้านบนควน จำนวน  15  คน คิดเป็นร้อยละ 6.61
    • หมู่ที่ 4 บ้านควนใหญ่ จำนวน  53  คน คิดเป็นร้อยละ 5.58
    • หมู่ที่ 5 บ้านปิใหญ่ จำนวน  50  คน คิดเป็นร้อยละ 4.23
    • หมู่ที่ 6 บ้านปลักมาลัย จำนวน  55  คน คิดเป็นร้อยละ 3.00 - หมู่ที่ 7 บ้านโกตา จำนวน  13  คน คิดเป็นร้อยละ 1.59
    • หมู่ที่ 8 บ้านอุไร จำนวน  68  คน คิดเป็นร้อยละ 8.49
    • หมู่ที่ 9 บ้านป่าฝาง จำนวน  53  คน คิดเป็นร้อยละ 3.02
    • หมู่ที่ 10 บ้านปากปิง จำนวน  39  คน คิดเป็นร้อยละ 3.49
    • หมู่ที่ 11 บ้านทุ่งเสม็ด จำนวน  17  คน คิดเป็นร้อยละ 1.79
    • หมู่ที่ 12 บ้านตูแตหรำ จำนวน  202  คน คิดเป็นร้อยละ 17.99

    พบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่ตำบลกำแพง ทั้งหมดจำนวน 721 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.00 และมีผู้ติดเชื้อที่เสียชีวิตจำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.01

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน และลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างจนยากแก่การควบคุม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ในหมู่บ้าน ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 14100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 14,100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒0๑๙ (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลุ่มกำแพงร่วมใจใส่ใจสุขภาพ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน ๙๙,๗๒๕ บาท วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน และลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๓๙ (COVID-19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างจนยากแก่การควบคุม กลุ่มเป้าหมาย คาสนสถาน จำนวน ๑๗ แห่ง, คณะกรรมการ/ผู้ดูแลศาสนสถานและประชาชนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้

๑. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในหมู่บ้าน
๒. ตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง โดยมีการประชุมคณะทำงาน อบรมให้ความรู้แก่ตัวแทนศาสนสถาน และสนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ในการควบคุมป้องกันโรคให้กับศาสนสถาน
๓. ตรวจคัดกรอง เฝ้าระวังและสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจาก ต่างตำบล ต่างอำเภอต่างจังหวัดและประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง
๔. การแยกสังเกตอาการที่บ้าน (Home Quarantine)
๕. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลการดำเนินกิจกรรม ดังนี้
๑. สนับสนุนป้ายประชาสัมพันธ์ให้กับศาสนสถานในพื้นที่ จำนวน ๑๗ แห่ง
๒. สนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองให้กับศาสนสถาน ร้อยละ ๑๐๐ และตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง โดยการวัดอุณหภูมิก่อนเข้าในสถานที่ที่ประกอบพิธีทางศาสนา สวมใส่หน้าอนามัยทุกครั้ง คณะกรรมการ/ผู้ดูแลศาสนสถาน มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒0๑๙ และการใช้วัสดุ/อุปกรณ์ ในการตรวจคัดกรอง ร้อยละ ๘๕
๓. ประชาชนที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง จำนวน ๑๔ วัน พบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรน่ 2019 ในพื้นที่ตำบลกำแพง ทั้งหมดจำนวน 721 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.00 และมีผู้ติดเชื้อที่เสียชีวิตจำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.01

ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน

๑. การติดตั้งเครื่องวัดอุณหภูมิเปิดใช้งาน มีความยุ่งยาก ชับซ้อน เนื่องจากคณะกรรมการส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ

๒. คณะกรรมการกลุ่มกำแพงร่วมใจใส่ใจสุขภาพ ลงพื้นที่ติดตั้งเครื่องวัดอุณหภูมิให้กับวัค/มัสยิดที่มีปัญหาการติดตั้ง และติดตามการใช้งานแต่ละที่

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

การติดตั้งเครื่องวัดอุณหภูมิเปิดใช้งาน มีความยุ่งยาก ซับซ้อน เนื่องจากคณะกรรมการส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ

 

คณะกรรมการกลุ่มกำแพงร่วมใจใส่ใจสุขภาพ ลงพื้นที่ติดตั้งเครื่องวัดอุณหภูมิให้กับวัด/มัสยิดที่มีปัญหาการติดตั้ง และติดตามการใช้งานแต่ละที่


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ประจำปีงบประมาณ 2564

รหัสโครงการ 64 - L8010 - 5 - 01 รหัสสัญญา 14/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 30 พฤศจิกายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64 - L8010 - 5 - 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพีรพล หมาดเท่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด