กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา


“ ค่ายร่วมพลัง ร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ”

ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางรูวัยดาอุเซ็งลานุง

ชื่อโครงการ ค่ายร่วมพลัง ร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L8278-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 สิงหาคม 2560 ถึง 13 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ค่ายร่วมพลัง ร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ค่ายร่วมพลัง ร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " ค่ายร่วมพลัง ร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L8278-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 สิงหาคม 2560 - 13 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดินโดยยึดหลัก “ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือ ผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม” ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันมิให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติดโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะแบบบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมายซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชนเป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งท้าทาย การชักจูงและการหลอกลวง เป็นต้นดังนั้น เด็กและเยาวชน จำเป็นต้องได้รับดูแลเอาใจใส่ อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติด อย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนโดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจกันเป็นพลังของแผ่นดินที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด ในสภาพปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด มาในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ มากมาย เข้าไปสู่เด็กและเยาวชนในสถานศึกษาต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือซู จึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมิให้เกิดขึ้นในโรงเรียน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทยส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจึงได้จัดทำโครงการค่ายรวมพลัง ร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
  2. เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
  4. เพื่อสนับสนุนนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
    2. ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้ามาในโรงเรียน นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
    3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ทั้งในโรงเรียนและชุมชน
    4. คณะครูในโรงเรียนและอสม.ในชุมชน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติดในโรงเรียนสามารถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อสนับสนุนนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐบาล
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอก และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้ (3) เพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมเด็กและเยาวชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (4) เพื่อสนับสนุนนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐบาล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ค่ายร่วมพลัง ร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L8278-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรูวัยดาอุเซ็งลานุง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด