กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ”
ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายประทีป ไชยยอด




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)

ที่อยู่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5182-05-22 เลขที่ข้อตกลง 22/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5182-05-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 348,810.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 7730 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไป เป็นระยะอย่างต่อเนื่องจนถึงวันที่ 30มิถุนายน พ.ศ.2564ซึ่งจํานวนผู้ติดเชื้อสะสมและผู้ติดเชื้อรายใหม่ซึ่งเป็นการติดเชื้อในประเทศได้เพิ่มจํานวนขึ้น อย่างต่อเนื่อง และการระบาดระลอกใหม่นี้ได้กระจายออกไปในหลายพื้นที่ค่อนข้างรวดเร็วสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกที่ 3 ในจังหวัดสงขลา ในเดือนมิถุนายน 2564 มียอดผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอีก ข้อมูล ณ วันที่ 6 มิถุนายน 2564 จำนวน ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน2,671 รายอาการรุนแรงจำนวน 1,209 รายเสียชีวิตจำนวน 1,236 ราย และผู้ป่วยยืนยันกลุ่มเดินทางมาจากต่างประเทศและกักกันในพื้นที่ที่รัฐกำหนดจำนวน 4,164 รายผู้ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 83 ราย เสียชีวิตจำนวน 3รายและผู้ป่วยเข้าเกณฑ์เฝ้าระวัง จำนวนผู้ป่วยสะสมรวมทั้งสิ้น 2,056,702ผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 10,522รายและจากกรณีมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ หมู่ที่ 5 บ้านประจ่าเหนือ ตำบลนาหว้าซึ่งข้อมูล ณ วันที่ 6 มิถุนายน ๒๕๖๔ มีผู้ติดเชื้อ ๑6 คน แยกเป็นในตำบลนาหว้า 13 คน (หมู่ที่ 5 บ้านประจ่า 12 คน และหมู่ที่ 2 บ้านเกาะทากเหนือ 1 คน) ตำบลน้ำขาว 2 คน และตำบลแค 1 คน พักรักษาตัวอยู่ รพ.สงขลา 1 คน, รพ.มอ.1 คน และรพ.จะนะ 14 คน ซึ่งการเผชิญการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลสุขภาพให้แข็งแรง และการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามมาตรการ DMHTT คือแนวทางปฎิบัติที่กระทรวงสาธารณสุขแนะนำให้ใช้ในการชะลอการระบาดของ โควิด-19 ดังนี้ D - Distancing : อยู่ห่างไว้ M - Mask wearing : ใส่แมสก์กัน H - Hand wash : หมั่นล้างมือ T - Testing : ตรวจวัดอุณหภูมิ และ T - Thai Cha na : ใช้แอปฯ ไทยชนะ องค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ได้ตระหนักและห่วงใยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ตำบลนาหว้าที่ต้องเผชิญกับภาวะการระบาดอย่างหนักของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงต้องมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้เข้าสู่ภาวะปกติโดยเร็วอีกทั้งองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้าเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ใกล้ชิดประชาชน มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมและ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2552 มาตรา 67 (3) การพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การป้องกันและระงับโรคติดต่อและตามระเบียบกระทรวงหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนตามอำนาจหน้าที่ของ อปท. พ.ศ.2560 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2561 ข้อ 13 ประกอบกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีมาตรการแก้ไขสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
  2. เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  2. รณรงค์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ
  3. กิจกรรมเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 โดยจัดหาอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรคของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
  4. ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  5. รณรงค์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ
  6. กิจกรรมเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 โดยจัดหาอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรคของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
  7. สรุปผลการดำเนินงาน
  8. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 800
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 900
กลุ่มวัยทำงาน 2,100
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 90
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 250
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,350
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้
  2. ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารตำบลนาหว้า ได้การป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) เพิ่มขึ้น
70.00 100.00

 

2 เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เช่นเจล แอลกอฮอล์ หน้ากากอนามัย น้ำยาฆ่าเชื้อ ฯลฯ
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 7730
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 800
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 900
กลุ่มวัยทำงาน 2,100
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 90
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 250
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,350
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า (2) เพื่อให้มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (2) รณรงค์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ (3) กิจกรรมเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 โดยจัดหาอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรคของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (4) ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (5) รณรงค์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ (6) กิจกรรมเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 โดยจัดหาอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรคของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (7) สรุปผลการดำเนินงาน (8) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5182-05-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประทีป ไชยยอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด