กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกำจัดเหาเด็กในวัยเรียนด้วยสมุนไพร
รหัสโครงการ 60-L5189-2-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านกระอาน
วันที่อนุมัติ 20 เมษายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 29 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายไพซอน หนิเร่
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าม่วง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.742,101.001place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเหาเป็นโรคที่พบกันบ่อยมากในเด็กนักเรียน ระดับก่อนประถมศึกษาและประถมศึกษาโดยเฉพาะนักเรียนหญิง เกิดจาการไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอน เป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไป และยังทำให้สุขภาพไม่ดี ก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น เนื่องจากมีอาการคันศรีษะ และการรักษาโรคเหาสมัยนี้ ส่วนใหญ่มักจะใช้สารเคมีซึ่งเมื่อใช้แล้วอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ด้้วยเหตุนี้ โรงเรียนบ้านกระอาน จึงได้จัดทำโครงการกำจัดเหาในวัยเรียนด้วยสมุนไพรจากธรรมชาติ ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมารักษาเด็กในวัยเรียนของโรงเรียนบ้านกระอาน โดยขอความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรุชิง อสม.หมู่ที่ 4 บ้านกระอาน เพื่อมาเป็นวิทยากรให้ความรู้และร่วมแก้ไขปัญหาดังกล่าวร่วมกัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. ศึกษาวิธีการกำจัดเหาโดยใช้สมุนไพรจากธรรมชาติ

 

2 2. เพื่อลดอัตราการเกิดเหาในเด็กวัยเรียน

 

3 3.เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับปรุงให้เกิดประโยชน์และดีขึ้น

 

4 4. เพื่อให้นักเรียนหญิงสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายตนเองได้ถูกต้อง

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เสนอโครงการต่อนายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าม่วง
  2. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
  3. จัดทำแผน เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อ ที่ใช้ในการอบรม
  4. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  5. จัดทำโครงการ
  6. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กในวัยเรียนสามารถดูแลรักษาความสะอาดของตัวเองได้
  2. จำนวนเหาที่อยู่ในผมเด็กในวัยเรียนลดน้อยลง
  3. เด็กนักเรียนมีความรู้ถึงประโยชน์ในเรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ส.ค. 2560 11:35 น.