กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการค้นหาภาวะแทรกซ้อนให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รหัสโครงการ 60-L1489-3-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลควนปริง
วันที่อนุมัติ 8 สิงหาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 15 ตุลาคม 2560
งบประมาณ 25,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรม อสม. ตำบลควนปริง
พี่เลี้ยงโครงการ รพ.สต.ตำบลควนปริง
พื้นที่ดำเนินการ ห้องประชุม รพ.สต.ควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.521,99.596place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการค้นหาภาวะแทรกซ้อน

-ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการตรวจ ร้อยละ 100

2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนได้รับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม

-ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนได้รับการส่งต่อไปยังโรงพยาบาลตรัง

3 -เพื่อดูแลสุขภาพผู้ป่วยแบบองค์รวมโรงการอบรมหใ้ความรู้ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง

-ผู้ป่วยได้รับการอบรมในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชน อย่างถูกต้องและเหมาะสม

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

ขั้นเตรียมการ 1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ประชุมชี้แจงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 3.จัดทำแผนการดำเนินงานคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงประชากร35ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ 4.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมโครงการ 6.จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการเก็บข้อมูลการคัดกรอง ขั้นดำเนินการ 1.จัดตั้งทีมให้บริการคัดกรองความเสี่ยง 2.จัดประชุม อสม. เพื่อฟื้นฟูทักษะในการตรวจวัดระดับน้ำตาล ตรวจวัดความดันโลหิต ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด การชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง และคำนวณดัชนีมวลกาย 3.ประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพแจ้งผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยง แนะนำให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ การตรวจคัดกรองซ้ำ 4.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ยืนยันผลการตรวจ 5.ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ตกค้าง ขั้นสรุปผล 1.สรุปผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองความเสี่ยง แยกรายหมู่บ้าน และคืนข้อมูลการตรวจคัดกรองความเสี่ยงกลับไปยัง หมู่บ้าน/ชุมชน อสม. อบต. ทราบภาระของโรค เพื่อให้ได้มีส่วนร่วมในการติดตาม แนะนำการดูแลตนเอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง 2.รายงานผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาระโรคหัวใจและหลอดเลือด 2.ประชาชนตระหนัก และใส่ใจในสุขภาพของตนเองและครอบครัว สามารถจัดการสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม 3.ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคหัวใจและหลอดเลือด 4.ประชาชนมีสุขภาพดี ไม่ป่วยและตายด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ส.ค. 2560 12:40 น.